Page 18 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 18

วิธีการตอไป เปนวิธีการทางดานวิศวกรรมที่
               เลียนแบบวิธีการของเกษตรกร โดยการสรางทอลอดระบาย

               เกลือ (Open drain) แตปญหาที่เกษตรกรพบคือ พื้นที่นา
               ของเกษตรกรคนใดที่อยูในพื้นที่สูงจะไมประสบปญหาดิน
               เค็มแตพื้นที่ของเกษตรกรคนใดที่อยูในพื้นที่ต่ํา น้ําเค็มจาก
               พื้นที่อื่นจะไหลเขามาในพื้นที่ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5

               จึงเขาไปจัดการปญหาโดยการขุดคลองหลักเขาไปในพื้น
               ที่ดินเค็มแลวตอทอใหน้ําเค็มไดระบายออกมาจากพื้นที่ของ
               เกษตรกรเพื่อใหน้ําเค็มไหลมารวมกันในคลองหลักโดยที่        ภาพที่ 5 การสรางทอลอดระบายเกลือ

               น้ําเค็มจะอยูในพื้นที่ที่จํากัดไวไมใหเกิดการแพรกระจาย        (Open drain)
               โดยเฉพาะในฤดูแลงน้ําในคลองหลักก็จะแหง เกลือจะตกตะกอนอยูบริเวณขางใตคลองหลักที่ขุดไวโดยที่ไมมี
               การแพรกระจาย

                         1.2 ดานระบบวิศวกรรมในพื้นที่ดินเค็มนอย – ปานกลาง

                                                                   สําหรับในพื้นที่ดินเค็มนอย – ปานกลาง ระบบ

                                                            วิศวกรรมที่นําเขามาใชคือ การปรับรูปแปลงนาลักษณะ
                                                            ที่ 1 เปนการเลียนแบบระบบการอนุรักษดินและน้ําใน
                                                            พื้นที่ลุมดอน โดยมีการปรับเปลี่ยนขนาดของคันนาใหมี
                                                            ขนาดใหญขึ้น เพื่อใหเกษตรกรสามารถปลูกพืช
                                                            เศรษฐกิจชนิดอื่นเปนรายไดเสริมในระหวางที่รอการ

                                                            ปรับปรุงพื้นที่ดินเค็ม เพราะโดยปกติพื้นที่บริเวณคันนา
                                                            หรือกระทงนาจะมีขนาดเล็ก เพื่อใชในการกักเก็บน้ํา
                                                            เนื่องจากมีปริมาณน้ําฝนนอย พื้นที่คอนขางแหงแลงจึง

                    ภาพที่ 6 การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1    ประสบปญหาพื้นที่ดินเค็ม แตดวยภูมิปญญาชาวบาน
                                                            เกษตรกรจึงไดทําคันนาหรือกระทงนา เพื่อกักเก็บน้ําไว
                                                            เปนชวงๆ ทําใหพื้นที่สูงมีคราบเกลือแตพื้นที่ต่ําจะไมมี
                                                            คราบเกลือ และดวยเทคนิคการปรับรูปแปลงนาเปนการ
                                                            ปรับพื้นที่กระทงนาใหเปนพื้นที่ราบสม่ําเสมอกัน จึงทํา

                                                            ใหไมมีคราบเกลือเพราะคราบเกลือจะอยูบริเวณขอบ
                                                            ของคันนาที่เปนพื้นที่สูงกวาระดับทองนาและเมื่อเขาสู
                                                            ฤดูฝนเกลือบริเวณขอบคันนาจะถูกชะลางออกไปยัง

                                                            บริเวณขอบของคันนาหรือกระทงนา โดยจะไมแพรเขา
                                                            ไปในกระทงนา การปรับปรุงแปลงนาลักษณะที่ ๒ เปน
                    ภาพที่ 7 การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2    การเลียนแบบโพลเดอร (Polder) คือการขุดคลองใหมี
                                                            น้ําลอมรอบโพลเดอร เมื่อฝนตกน้ําฝนจะชะลางคราบ

                                                            เกลือลงในรองลึกจึงทําใหเกษตรกรสามารถปลูกพืชไดใน
                                                            พื้นที่โพลเดอร





                                                                 หนวยงานบูรณาการสรางสานพื้นที่ดินเค็ม  15
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23