Page 16 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 16

การเสวนาทางวิชาการ “องคความรูสูปดินสากล 2558” ครั้งที่ 2

                                      หัวขอ “หนวยงานบูรณาการ สรางสานพื้นที่ดินเค็ม”
                                   วันศุกรที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕7 เวลา 14.00 - 16.30 น.


                                             ณ หองประชุมชั้น ๒ กรมพัฒนาที่ดิน



                      การเสวนาทางวิชาการครั้งที่ 2 ไดรับเกียรติจาก นายภิญโญ สุวรรณชนะ ผูอํานวยการสํานักงาน
               พัฒนาที่ดินเขต 5 นางปราณี สีหบัณฑ รักษาการผูเชี่ยวชาญดานวางระบบการพัฒนาที่ดิน สํานักงานพัฒนา
               ที่ดินเขต 5 นางนุงนุช ศรีพุม ผูอํานวยการสถานีพัฒนาที่ดินกาฬสินธุ และนางระเบียบ สละ เกษตรกรตัวอยาง

               ดานการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มจากจังหวัดขอนแกน มาเปนวิทยากรในการเสวนาฯ ในครั้งนี้
                                                             โดยในการเสวนาฯ นางปราณี สีหบัณฑ รักษาการ
                                                             ผูเชี่ยวชาญดานวางระบบการพัฒนาที่ดิน สํานักงาน
                                                             พัฒนาที่ดินเขต 5 ไดกลาวถึงปญหาดินเค็ม ไววา

                                                             ดินเค็มเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งของเกษตรกรในภาค
                                                             ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสงผลกระทบตอการ
                                                             เจริญเติบโตของพืช และยังสงผลกระทบตอสภาพ
                                                             เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมอีกดวย สําหรับพื้นที่ใน

                                                             ภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบปญหาพื้นที่ดินเค็ม
                                                             เปนบริเวณกวาง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 17.8
                         ภาพที่ 1 นางปราณี สีหบัณฑ          ลานไร หรือคิดเปนรอยละ 29  ของพื้นที่เพาะปลูกพืช
                 รักษาการผูเชี่ยวชาญดานวางระบบการพัฒนาที่ดิน    ทั้งภาค เนื่องจากดินเค็มทําใหโครงสรางของดินเสีย

                                                             ดินแนน ทึบ และความเค็มแพรกระจายไปยังแหลงน้ํา
                                                             อื่นๆ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอพืช สัตว และสิ่งมีชีวิต
                                                             อื่นๆ ในระบบนิเวศ โดยเฉพาะขาวซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจ
                                                             หลักที่ปลูกมากในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรม

                                                             พัฒนาที่ดินโดยสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต ๕ ไดเล็งเห็น
                                                             ความสําคัญของปญหาดินเค็ม จึงไดเขาไปดําเนินการ
                                                             แกไขปญหาดินเค็ม พื้นที่ที่มีปญหาสวนใหญจะพบใน

                                                             พื้นที่ของอําเภอโคราช จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัด
                                                             ขอนแกน ดังนั้นทางสํานักงานพัฒนาที่ดินเขต ๕ จึงได
                                                             ทําการเลือกพื้นที่ของตําบลเมืองเพีย อําเภอบานไผ
                       ภาพที่ 2 พื้นที่ที่ประสบปญหาดินเค็ม    จังหวัดขอนแกน ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดประมาณ

               768,000 ไร ซึ่งเปนพื้นที่ประสบปญหาดินเค็มอยางรุนแรง เกษตรกรไมสามารถใชประโยชนพื้นที่เพื่อการ
               เพาะปลูกได นอกจากนี้ยังมีน้ําเค็มจากพื้นที่ ดังกลาวไหลลงสูพื้นที่ลุมปะปนไปกับแหลงน้ําตามธรรมชาติ ทําให
               พื้นที่นาและแหลงน้ําธรรมชาติที่มีน้ําเค็มไหลผานกลายสภาพเปนดินเค็ม








                                                                 หนวยงานบูรณาการสรางสานพื้นที่ดินเค็ม  13
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21