Page 17 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 17

สาเหตุการเลือกพื้นที่ ตําบลเมืองเพีย อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน


                      เนื่องจากตําบลเมืองเพีย มีลักษณะของ
               ภูมิประเทศเปนที่ลุมน้ํา พื้นที่มีลักษณะเปนแองกระทะ

               ซึ่งบริเวณขอบของแองกระทะจะเปนพื้นที่ดินเค็ม เมื่อเขาสู
               ฤดูฝนจะมีการชะลางเอาคราบเกลือลงมากองที่กนกระทะ
               ในขณะเดียวกันบริเวณกนกระทะจะเปนบริเวณของโดม
               เกลือที่มีชั้นหินเกลืออยูใกลชั้นผิวดินมากที่สุด



                                                                            ภาพที่ 3 พื้นที่ตําบลเมืองเพีย

                ระดับความรุนแรงของดินเค็มแบงออกเปน ๔ ระดับดังนี้


                      ๑. พื้นที่ดินเค็มมากหรือเค็มจัด

                      ๒. พื้นที่ดินเค็มปานกลาง

                      ๓. พื้นที่ดินเค็มนอย
                      ๔. พื้นที่ที่มีศักยภาพการแพรกระจายดินเค็ม


                ระบบเทคโนโลยีที่นํามาใชในการแกไขปญหาดินเค็ม

                      สําหรับการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มมีการนําระบบเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดินเขาชวยแกไขปญหาซึ่ง

               สามารถแบงออกได ๒ ระบบ คือ 1. ระบบวิศวกรรม และ 2. ระบบพืช ซึ่งในแตละระบบมีความเหมาะสมใน
               การแกไขปญหาพื้นที่ดินเค็มในระดับความรุนแรงของดินเค็มที่แตกตางกันไป

                      1. ระบบวิศวกรรม

                                                                     1.1 ดานระบบวิศวกรรมในพื้นที่ดินเค็มจัด

                                                                   ในพื้นที่ดินเค็มจัดจะมีการนําระบบวิศวกรรม
                                                           เขามาชวยแกไขปญหาพื้นที่ดินเค็มโดยทางสํานัก
                                                           วิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน (สวพ.) ของกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           จะวางแผนการสรางระบบระบายน้ําใตดิน (Sub drain)
                                                           เพื่อลางดินเกลือในพื้นที่ดินเค็มซึ่งเปนการเลียนแบบการ
                                                           ระบายน้ําในสนามกอลฟ คือจะมีการฝงทออยูใตดินลึก

                                                           ประมาณ ๑.๒๐ เมตร โดยแตละทอจะมีระยะหาง ๒๐
                                                           เมตร สวนบริเวณบนผิวดินจะมีการปรับใหเปนกระทงนา
                  ภาพที่ 4 ระบบวิศวกรรมการระบายน้ําใตดิน    เพื่อใหเกษตรกรสามารถขังน้ําไวในกระทงนา จากนั้นน้ํา

                              (Sub drain)                  จะซึมลงไปในชั้นดินขางลางและจะไหลไปรวมในทอที่ฝง
               ไวใตดินและระบายออกทางทอสูคลองหลัก ดังนั้นเมื่อเราลางดินเปนเวลา ๑ ป ความเค็มของดินจะลดลง
               ประมาณ ๒๐ – ๓๐% เมื่อเขาสูปที่ ๓ เกษตรกรจึงสามารถปลูกขาวบนกระทงนาได แตพบวาผลผลิตของขาว
               คอนขางต่ํา แตอยางไรก็ตามวิธีการดังกลาวเปนขอบงชี้ใหเกษตรกรเห็นวาถาเกษตรกรมีการจัดการดินเค็มที่ดี
               ถูกตอง และเหมาะสม เกษตรกรก็สามารถใชประโยชนจากดินเค็มไดปกติ




                    14  องคความรูสูปดินสากล 2558
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22