Page 14 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 14

ภาพที่ 25 สภาพปญหาพื้นที่บานยูโย

                                                                       เนื่องจากภูมิประเทศดานทิศตะวันตกของ

                                                                จังหวัดนราธิวาส เปนเทือกเขาและพื้นที่ราบลุม เมื่อ
                                                                ฝนตกน้ําจากเทือกเขาจะไหลผานปาพรุโตะแดงแลว
                                                                เกิดการปนเปอนจากน้ําสีดําในพรุและผานพื้นที่ดิน
                                                                เปรี้ยว  เมื่อนําน้ํามาใชทางการเกษตรทําใหผลผลิตไม

                                                                ไดผล ทางทิศเหนือของพรุโตะแดงมีคลองสุไหงปาดี
                                                                แตไมสามารถนําน้ํามาใชประโยชนไดเนื่องจากหนาฝน
                                                                น้ําจะมีสีดํา และหนาแลงน้ําจะมีความเปนกรด
                                                                พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสให
                              ภาพที่ 26 สะพานยกน้ํา             จัดทําโครงการผันน้ําจืดจากคลองสุไหงปาดีมาใชใน

                                                                พื้นที่ดินเปรี้ยวบานยูโย สําหรับเจือจางความเปรี้ยว
                                                                ของดิน จึงไดพระราชทานแนวความคิดใหกับ

                                                                เจาหนาที่ในการผันน้ําจืดจากคลองสุไหงปาดีมาใช
                                                                3 แนวทาง คือ การทําคันซีเมนตปองกันน้ําดีไมให
                                                                ปนเปอน ซึ่งมีคาใชจายสูงมาก การทําสะพานยกน้ํา
                                                                เพื่อใหน้ําวิ่งผานทางสะพาน แตอาจจะตองใชเสาเข็ม
                                                                ในการเจาะที่ลึกอาจจะมีคาใชจายที่สูง และการทํา

                                                                สะพานน้ําเมื่อถึงพรุโตะแดงใหทําแพลูกบวบสงน้ํามา
                                                                ซึ่งแนวทางนี้อาจจะไมทนตอสภาพธรรมชาติ
                               ภาพที่ 27 คลองสงน้ํา
                                                                เจาหนาที่จึงไดมอบหมายใหคณะวิศวกรรมศาสตร

                                                                มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรทําการศึกษาทั้ง 3
                                                                แนวทาง พบวาวิธีการทําสะพานยกน้ําและคลองสงน้ํา
                                                                (ภาพที่ 26-29) เปนวิธีการที่ดีที่สุดและใชเสาเข็มใน
                                                                การเจาะประมาณ 2 เมตร เจาหนาที่จึงไดเลือกวิธีการ

                                                                ทําสะพานยกน้ําในการผันน้ําจืดจากคลองสุไหงปาดี
                                                                ยาว 12 กิโลเมตร ใชเวลาในการสรางประมาณ 1 ป
                                                                เศษจึงแลวเสร็จ เมื่อสรางสะพานยกน้ําเสร็จ
                                                                ก็พบปญหาคือในชวงฤดูฝนบานยูโยไมตองการน้ําจาก
                          ภาพที่ 28 สะพานยกบอกักเก็บน้ํา


                              การพัฒนาพื้นที่พรุตามแนวพระราชดําริกรณีศึกษาโครงการพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดบานยูโย  11
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19