Page 11 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 11

ระยะที่ 3 (ม.ค. 2533 - ปจจุบัน)


                           ศึกษาวิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดดวยวิธีการตางๆ ดังแสดงในภาพที่ 15  ผลการทดลอง พบวา
                  ปริมาณกรดและอลูมินัมในดินลดลง สามารถปลูกขาวและใหผลผลิตได ดังแสดงในภาพที่ 16  แตในปแรก

                  ผลผลิตจะต่ํา แตผลผลิตจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในปตอมา เจาหนาที่ไดนําผลการทดลองกราบบังคมทูลถวายรายงาน
                  และทรงมีพระราชดํารัสวาเปนความสําเร็จที่ทําใหดินหายโกรธ เมื่อดินหายโกรธจึงสามารถนําดินไปใช
                  ประโยชนไดเหมือนดินธรรมดาทั่วไป แกลงดินใหโกรธ จนไมสามารถปลูกพืชได จากนั้นจึงดูแลดิน ใหน้ําทํางาน
                  รวมกับดิน ดินจึงหายโกรธจนสามารถปลูกพืชและใหผลผลิตได














                                         ภาพที่ 16 ตนขาวที่ปลูกในแปลงทดลองพื้นที่ดินเปรี้ยว ชวงที่ 3



                         สําหรับการยกรองปลูกพืชพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีรับสั่งใหเก็บหนาดินสีดํา ดังแสดงในภาพ
                  ที่ 17 ไวเพราะเปนที่อยูของจุลินทรียและธาตุอาหาร เมื่อขุดยกรองแลวหากเอาหนาดินไปทิ้งจะทําใหดินชั้น
                  ลางไมมีธาตุอาหารและไมมีอินทรียวัตถุและการขุดเอาหนาดินตะกอนทะเลไวดานบนจะทําใหดินเปรี้ยวจัดและ
                  เมื่อขุดแลวใหเอาหนาดินไปกองไวดานบนและไมใหขุดลงไปถึงชั้นไพไรท ดังแสดงในภาพที่ 18 และภาพที่ 19
                  และในการแกดินเปรี้ยวยังจะตองควบคุมระดับน้ําใตดินใหอยูเหนือชั้นดินเลนและไมใหดินแหง ดังแสดงใน

                  ภาพที่ 20 หลังจากแกไขแลว จึงดําเนินการปลูกพืชเศรษฐกิจตอไป (ภาพที่ 21-22)













                                          ภาพที่ 17 วิธีการขุดยกรองพื้นที่ดินเปรี้ยวโดยรักษาหนาดินไว





                        8  องคความรูสูปดินสากล 2558
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16