Page 116 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 116

ตอนที่ 4  ความสัมพันธระหวางงานสํารวจดินกับนานาชาติ
                            โดย ผูเชี่ยวชาญ.ดร.พิสุทธิ์ วิจารสรณ


                      ผชช.ดร. พิสุทธิ์ วิจารสรณ :  ผมเริ่มรับราชการป พ.ศ.2๕๐๘ ที่กองสํารวจดิน กรมพัฒนาที่ดิน
               กระทรวงพัฒนาการแหงชาติ ตอมาเปลี่ยนเปนกระทรวงเกษตรและสหกรณ งานสํารวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน
               กอนนั้นทํางานวิจัยกันเอง ตอมาในชวงป พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๗ ประเทศไทยเริ่มไดรับความชวยเหลือจาก
               ชาวตางประเทศมากขึ้น และนักสํารวจดินของกรมฯ หลายคนก็ไดรับทุนจากAID (Agency for International

               Development) ไปศึกษาในตางประเทศ รวมทั้งผมก็ไดรับทุน AID  ไปศึกษาระดับปริญญาโทดานสํารวจดิน
               ที่รัฐอิลินอยด ประเทศสหรัฐอเมริกา ชวงนั้นเปนชวงเวลาที่ AID เฟองฟู นักสํารวจดินไดรับทุนกันเยอะ
               เพราะถือวางานสํารวจดินเปนงานพื้นฐานที่ตองใชในการพัฒนาประเทศและการพัฒนาการเกษตร ซึ่ง AID
               ใหความชวยเหลือดานบุคลากรอยูระยะหนึ่ง

                      ตอมาองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ไดเขามาชวยเหลือตอในเรื่องเครื่องมือ

               สํารวจดิน ไดแก เข็มทิศ สวานเจาะดิน รถยนต ฯลฯ โดยมี Dr.Frank  R.  Moomann ผูเชี่ยวชาญของ FAO
               ชาวเนเธอรแลนด เปนผูบุกเบิกเขามาปฏิบัติงานในฐานะผูเชี่ยวชาญสํารวจจําแนกดินรวมกับนักสํารวจดินไทย
               ในขณะนั้นกรมพัฒนาที่ดินมีผูเชี่ยวชาญประจําทุกภาค ผูเชี่ยวชาญทุกคนเพิ่งจบปริญญาตรีมาใหมๆ ก็มาเปน

               Expert  เลย  ซึ่งสวนใหญจะเปนชาวเนเธอรแลนด  มีผูเชี่ยวชาญทํางานที่ภาคใต คือ  Dr.Frank J.  Dent
               ชาวอังกฤษเขามาเปน Spectraining  Soil Survey and Classification  ถือวาผมโชคดีที่ไดทํางานรวมกับ
               Dr.Dent เพราะคุยกับทานรูเรื่อง ทานรูจักนิสัยของคนไทย

                      ผมไดลงไปทํางานที่ภาคใต จากนั้น ผอ.สุรพล เจริญพงศ ซึ่งไดรับทุนและเรียนจบดานการสํารวจ
               จําแนกดินจากรัฐมิสซิสซิปป ประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ไดมารวมทํางานบุกเบิกการสํารวจดินทางภาคใตดวยกัน

               มีการจัดประชุม สํารวจดิน เก็บตัวอยางดิน ดูหลุมดิน ซึ่งทําใหมีขอมูลดินตางๆ ทางภาคใตมากมาย การทํางาน
               กับผูเชี่ยวชาญตางประเทศทําใหรับความรู เนื่องจากชาวตางประเทศจะเอาความรูจากตําราของตางประเทศ
               มาอานใหฟง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู ดังนั้นงานวิชาการดานสํารวจดินทางภาคใตจึงมีความเขมขนเปนอยางมาก

                      จากความสัมพันธอันดีกับประเทศสหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ.๒๕๒๑ ประเทศสหรัฐอเมริกาเลือกประเทศ
               ไทยเปนสถานที่ศึกษาดินในเขตรอนเปนครั้งแรก มีการจัด workshop ใหญขึ้นในประเทศไทย มีนักสํารวจดิน

               ที่มีชื่อเสียงเดินทางมารวมงานในครั้งนั้นมากมายหลายทาน ทั้งจาก ยุโรป สหรัฐอเมริกา อเมริกาใตทําให
               นักสํารวจดินในยุคนั้น ไดมีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณทางวิชาการกับนักสํารวจดินระดับโลก
               หลายทาน ที่นาภูมิใจที่สุดคือ Dr.Guy D. Smith ผูไดรับการยกยองใหเปน “Father of Soil Taxonomy”
               ทานไดเขารวมประชุมครั้งนั้นดวย ตอนนั้นทานก็อายุ 70 กวาปแลว

                      ในป พ.ศ.๒๕๒๑ - ๒๕๒๗ เรามีการประชุมนานาชาติตลอด กองสํารวจดินมีการจัดประชุมนานาชาติ

               2 - 3 ครั้งตอป ไมใชเฉพาะเรื่อง Soil survey อยางเดียว ยังมี Soil Laboratory ดวย ในแถบ Southeast
               Asia ประเทศไทยถือวาเปน Center ในการ Training ดาน Soil survey ดาน Interpretation และดาน Soil
               Lab  มีผูเชี่ยวชาญชาวตางประเทศหลายทานเขามารวมกันทํา Lab เชน Dr.Osborne J.F. ก็มาทํา Lab ดาน
               ดินเปรี้ยวและการเกิด Sulfur









                                                                                 ตํานานการสํารวจดิน  113
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121