Page 7 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 7

ภาพที่ 4 สันทรายลอมปดจนเกิดเปนแอง            ภาพที่ 5 แองที่ลุมพัฒนาเปนพื้นที่พรุ


                  น้ําในแองเริ่มกลายเปนน้ํากรอยทําใหพืชที่สามารถทนเค็มสามารถเจริญเติบโตได ดังแสดงในภาพที่ 5
                  เมื่อเวลาผานไปมีน้ําจากแหลงอื่น เชน น้ําฝนสะสมในแองทําใหน้ํากรอยกลายเปนน้ําจืดในที่สุด สงผลให
                                                                พืชที่เจริญเติบโตในน้ําเค็มไมสามารถดํารงชีวิตตอไปได

                                                                ทําใหพืชตายเกิดการทับถมกันจํานวนมากจึงกอใหเกิด
                                                                ชั้นดินอินทรียหนาขึ้นมากกวา 1  เมตร ทับถมบนดิน
                                                                ตะกอนทะเลในที่สุดก็มีไมพุมเจริญเติบโตขึ้น ดังแสดง
                                                                ในภาพที่ 6  และมีวิวัฒนาการทําใหมีไมใหญ

                                                                ขึ้นหนาแนนเปนปาพรุที่อุดมสมบูรณ แตยังมีน้ําทวม
                                                                ขัง โดยดินชั้นลางเปนชั้นดินตะกอนทะเลสีเทาและทับ
                                                                ถมดวยชั้นดินอินทรียที่มีความหนาขึ้นเรื่อยๆ ดังแสดง
                                                                ในภาพที่ 7     สภาพเดิมของปาพรุบาเจาะเปน

                                                                หาดทรายและสภาพพื้นที่เดิมของปาพรุโตะแดง
                          ภาพที่ 6 บึงน้ําจืด มีการสะสมของ
                               ซากพืชเปนชั้นอินทรีย           เปนปาชายเลนจึงทําใหความรุนแรงของชั้นดินตะกอน
                                                                ทะเลแตกตางกัน ในปจจุบันศูนยศึกษาการพัฒนา
                  พิกุลทองฯ ไดจัดใหพื้นที่เหลานี้เปนปาสงวนทําใหปาพรุโตะแดงยังมีความอุดมสมบูรณ แตปาพรุบาเจาะไดมี

                  การตัดไมทําลายปา มีปาเสม็ดขึ้นมาแทนที่  ทําใหไมมีน้ําทวมขังทั้งป จึงเกิดไฟไหมในชวงฤดูแลงและเปน
                  ปญหาสําคัญของปาพรุ ดังแสดงในภาพที่ 8

















                    ภาพที่ 7 เกิดชั้นดินอินทรียมีตนไมใหญขึ้นหนาแนน   ภาพที่ 8 สภาพพื้นที่พรุในปจจุบัน



                        4  องคความรูสูปดินสากล 2558
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12