Page 6 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 6

พื้นที่ในจังหวัดนราธิวาส เปนพื้นที่ลุมต่ํา มีน้ํา
                                                                ทวมขังตลอดทั้งป ดังแสดงในภาพที่ 1 มีการทับถม

                                                                ของซากพืชมาเปนเวลานับพันปและมีการสลายตัวเปน
                                                                อินทรียวัตถุในดินทําใหดินในบริเวณนี้มีอินทรียวัตถุ
                                                                ในดินมากกวา ๘๐% ถึง ๙๐% มีระบบนิเวศที่ซับซอน
                                                                มีธารน้ําที่ไหลชาๆ มีการสลายตัวของอินทรียวัตถุใน

                                                                ดิน ทําใหน้ําในพรุมีสีดํา








                         พรุเปนพื้นที่เสี่ยงตอการถูกทําลายและ
                  เสื่อมโทรมไดงาย ดังแสดงในภาพที่ 2 เพราะถาน้ําใน

                  พรุไมมีการไหล น้ําจะขังทําใหน้ําเนาและตนไมในพื้นที่
                  จะตาย ถาน้ําในพรุแหงตนไมในบริเวณนั้นก็จะตาย
                  เพราะระบบนิเวศในพรุเปลี่ยนไป ลักษณะของตนไมใน
                  พรุจะคลายคลึงกับตนไมในพื้นที่ปาชายเลน คือ มี

                  ระบบรากค้ํายัน ระบบรากหายใจ เนื่องจากดินมีน้ําขัง
                  ดังนั้นเมื่อน้ําแหงก็จะทําใหระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไป
                  นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  ไดทําการ                 ภาพที่ 2 พื้นที่ดิน

                  ศึกษามูลคาของปาพรุจากการใชประโยชนของชาวบานพบวามีมูลคานับพันลานบาท   เนื่องจากปาพรุ

                  มีความอุดมสมบูรณ แตเมื่อมีการทําลายปาพรุพื้นที่บริเวณนั้นก็จะมีปาเสม็ดขึ้นมาแทนทําใหระบบนิเวศ
                  เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองอนุรักษปาพรุไว


                  การเกิดพรุ



                                                                       พื้นที่การเกิดพรุแตเดิมนั้นเปนพื้นที่ชายทะเล
                                                               ทั่วไป เมื่อชายฝงทะเลของภาคใตฝงตะวันออกเกิด
                                                               การเปลี่ยนแปลงของลักษณะภูมิประเทศเกิดการยกตัว

                                                               ของแผนดินขึ้นทําใหเกิดสภาพดินเปนลอนคลื่น
                                                               ดังแสดงในภาพที่ 3 มีการลาดเอียงไปทางทิศตะวันตก
                                                               ประกอบกับน้ําทะเลมีการขึ้นลงตลอดเวลาทําใหเกิด
                                                               สันทรายและเมื่อน้ําทะเลลดลงสันทรายจะลอมปด

                                                               ดังแสดงในภาพที่  4  ทําใหเกิดเปนแอง สงผลใหน้ํา
                                                               หยุดนิ่งแลวเกิดการสะสมของดินเหนียวตะกอนทะเล
                                                               ทําใหพื้นที่บริเวณนั้นตื้นขึ้น จนแองที่ลุมพัฒนา
                       ภาพที่ 3 สภาพพื้นที่ลอนคลื่นและลาดเอียง
                                                               เปนพื้นที่พรุ




                              การพัฒนาพื้นที่พรุตามแนวพระราชดําริกรณีศึกษาโครงการพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดบานยูโย  3
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11