Page 53 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 53

3-6





                                - หนวยที่ดินที่ 23MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 2,410 ไร หรือรอยละ 0.26 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (8)  กลุมชุดดินที่เปนดินที่มีวัสดุอินทรียหนา 40-100 เซนติเมตร เปนกลุมดินที่พบ

                  บริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุ ที่อยูไมไกลจากทะเลมากนัก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง

                  ราบเรียบ มีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป เปนดินลึก การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวก

                  ดินอินทรีย ปกติเปนชั้นอินทรียวัตถุหนามากกวา 40  เซนติเมตร   แตไมเกิน 100  เซนติเมตร  บางแหง
                  เปนชั้นอินทรียวัตถุสลับกับพวกดินอนินทรีย  มีสีของดินเปนสีดินหรือสีน้ําตาลในชั้นดินอินทรีย

                  สวนดินอนินทรียที่เกิดเปนชั้นสลับอยู มีสีเปนสีเทา ใตลงไปจะเปนดินเลนตะกอนน้ําทะเล ซึ่งมักพบ

                  อยูในระดับความลึกนอยกวา 100  เซนติเมตร  มีสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบกํามะถัน
                  (ไพไรต) อยูมาก มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก มีคาความ

                  เปนกรดเปนดางนอยกวา  4.5  ตามสภาพธรรมชาติพื้นที่เหลานี้จะปกคลุมไปดวยปาพรุ แกไดมีการ

                  หักรางถางพงเพื่อนํามาใชปลูกขาว แตไมคอยไดผล เนื่องจากมีปญหามากในเรื่องคุณภาพของดิน

                  ดังนั้นในปจจุบันจึงปลอยทิ้งใหรกรางวางเปลา มีหญา เสม็ด และไมพุมเล็กๆ ขึ้นอยูทั่วไป แบงเปน
                  หนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    - หนวยที่ดินที่ 57 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 5,054 ไร

                  หรือรอยละ 0.55 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (9)  กลุมชุดดินที่เปนดินที่มีอินทรียวัตถุหนามากกวา 100 เซนติเมตร เปนกลุมดินที่มี

                  ลักษณะคลายคลึงกับกลุมดินที่ 57  คือ เปนกลุมดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุ ที่อยูไมไกล

                  จากทะเลมากนัก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบมีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป
                  เปนดินลึก การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรีย แตชั้นดินอินทรียที่พบหนากวา 100

                  เซนติเมตร  และมีเนื้อหยาบกวา  อีกทั้งมีเศษพืชขนาดเล็กและขนาดใหญปะปนอยูทั่วไป สีดินเปนสีดิน

                  หรือสีน้ําตาล ที่ความลึกมากกกวา 200 เซนติเมตร อาจพบดินเลนตะกอนน้ําทะเลสีเทาหรือสีเทาปนเขียว
                  และมีสารประกอบกํามะถัน (ไพไรต) อยูมาก มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรดเปนดางนอยกวา 4.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดินของ

                  หนวยแผนที่นี้ไดแก เปนดินอินทรียที่มีคุณภาพต่ํา เปนกรดจัดมาก ขาดธาตุอาหารพืชตางๆ อยางรุนแรง

                  และยากตอการใชเครื่องมือทางการเกษตรเนื่องจากเปนที่ลุมต่ําและดินยุบตัว หากมีการระบายน้ําออก
                  เมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญยังคงสภาพปาพรุ บริเวณขอบๆ พรุบางแหง

                  ใชปลูกพืชลมลุกและพืชผักสวนครัว แตไมคอยไดผล เมื่อปาพรุถูกทําลายไปจะมีพืชตางๆ เชน

                  กระจูด เฟรน และเสม็ดขึ้นแทนที่ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58