Page 48 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 48

3-1





                                                         บทที่ 3


                                        การวิเคราะหเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดิน


                  3.1   การวิเคราะหดานกายภาพ


                        3.1.1  ทรัพยากรที่ดิน
                            สถานภาพทรัพยากรที่ดินปจจุบันของลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีเนื้อที่

                  ทั้งหมด 912,512 ไร เปนที่ลุมมีศักยภาพในการทํานา 318,944 ไร หรือรอยละ 34.95 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  เปนที่ดอนมีศักยภาพในการปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน หรือทุงหญาเลี้ยงสัตว 368,796 ไร หรือรอยละ
                  40.42 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เปนพื้นที่ลาดชันเชิงซอนหรือพื้นที่ภูเขาที่ตองอนุรักษไวเปนพื้นที่ปาไม

                  77,686 ไร หรือรอยละ 8.51 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา  เปนพื้นที่อื่นๆ ที่มิใชพื้นที่การเกษตร เชน ที่ดิน

                  ดัดแปลง พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ชายหาด ที่ลุมชื้นแฉะ บอขุด พื้นที่น้ํา และชุมชน รวมกันอีกประมาณ
                  147,086  ไร หรือรอยละ 16.12 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ในสภาพปจจุบัน (ป พ.ศ. 2552) พื้นที่ถูกใชในการทํานา

                  278,696 ไร หรือรอยละ 30.54 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา เมื่อนําพื้นที่ลุมที่มีศักยภาพเหมาะสมในการทํานา

                  เปรียบเทียบกับพื้นที่ทํานาจริงพบวา พื้นที่ทํานาจริงมีนอยกวาพื้นที่มีศักยภาพทํานา 50,586 ไร ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา นอกจากนี้ยังมีการทํานาบนพื้นที่ดอน สังเกตไดจากการปนคันนาบนพื้นที่ดอนเพื่อปลูกขาว
                  คือ หนวยที่ดินที่ 26b 32b 32gmb 34b 34Bb 34gmb  39Bb 39gmb  42b 43b และ 50Bb  จากสภาพ

                  การใชที่ดินที่เปนอยูกอใหเกิดการชะลางพังทลายของดินในระดับนอย ปานกลาง รุนแรง รุนแรงมาก

                  และรุนแรงมากที่สุด มีเนื้อที่รอยละ  79.18  13.39  1.92  0.07  และ  5.44  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ตามลําดับ

                             จากการสํารวจดินในระดับคอนขางละเอียด ที่ระดับมาตราสวน 1:25,000 สามารถนําขอมูล
                  มาวิเคราะห และจัดทําหนวยที่ดิน โดยแยกเปนหนวยที่ดินเดี่ยว ประกอบไปดวย หนวยที่ดินที่  2 2I 2M

                  2MI  6 6I  6M  6MI  10 10I 10MI  13 13I 14  14I  14M  14MI 17 17I  17M   17MI  23 23I 23M  23MI 26 26b

                  26C 32 32b 32gm 32gmb 34 34b 34B  34Bb 34C 34gm 34gmb 39 39B 39Bb 39C 39gm 39gmb  42 42b 43
                  43b 45C  50B  50Bb 50C  50D  50E  51  51C 51D 57 58I 58M 58MI 59 59I 59M  59MI  และ 62  หนวย

                  เบ็ดเตล็ด ไดแก พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา  (AQ)  ชายหาด (BEACH)  ที่ลุมชื้นแฉะ (MARSH)  ที่ดินดัดแปลง

                  (ML) บอขุด (P) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U) และพื้นที่น้ํา (W) เปนตน จากหนวยที่ดินดังกลาว ขางตน
                  ไดอธิบายรายละเอียดของหนวยที่ดิน โดยแบงเปนดินที่ลุม ดินในที่ดอน และหนวยเบ็ดเตล็ด (ตารางที่

                  3-1 และรูปที่ 3-1) โดยไดสรุปสถานภาพทรัพยากรดิน ดังตารางที่ 3-2 รายละเอียดตางๆ มี ดังนี้

                             1)  ดินในพื้นที่ลุม ประกอบดวยหนวยที่ดินตาง ๆ ดังนี้
                            (1)   กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนผสมระหวางตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ําทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย ในบริเวณที่ราบลุมที่





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53