Page 58 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 58

3-11





                  ประมาณ 5.0-6.0 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทรายจัด และดินมี

                  ความอุดมสมบูรณต่ํามาก พืชมักแสดงอาการขาดธาตุอาหารใหเห็น ในชวงฤดูแลงชั้นดานจะแหงและ

                  แข็งมาก รากพืชไมสามารถไชชอนผานไปได สวนในชวงฤดูฝนจะเปยกแฉะและมีน้ําแชขัง ปจจุบัน
                  บริเวณดังกลาวเปนปาเสม็ด ปาชายหาดปาละเมาะ บางแหงใชปลูกไมผลและไมยืนตน แบงเปนหนวย

                  ที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 42 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 33,386 ไร

                  หรือรอยละ 3.66 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                         -            หนวยที่ดินที่ 42b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อปลูกขาว มีเนื้อที่ 8,792 ไร หรือรอยละ 0.96 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (6)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายลึกมาก เปนกลุมดินที่พบในเขตฝนตกชุก หรือ
                  บริเวณชายฝงทะเล เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของ

                  หินเนื้อหยาบ หรือจากตะกอนทรายชายทะเล บนพื้นที่ดอน บริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเลหรือ

                  บริเวณที่ลาดเชิงเขา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึก มีการระบายน้ํา

                  คอนขางมากเกินไป เนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินทราย ดินมีสีเทา สีน้ําตาลออน หรือเหลือง
                  ถาพบบริเวณสันทรายชายทะเลจะมีเปลือกหอยปะปนอยูในเนื้อดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 แตถามี

                  เปลือกหอยปะปนจะมีปฏิกิริยาเปนดางปานกลาง ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดิน
                  เปนทรายจัด ทําใหมีความสามารถในการอุมน้ําไดนอย พืชจะแสดงอาการขาดน้ําเมื่อฝนทิ้งชวง

                  นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกไมยืนตน และไมผล บางแหง

                  เปนปาละเมาะหรือทุงหญาธรรมชาติแบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                     -  หนวยที่ดินที่ 43 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 46,587 ไร

                  หรือรอยละ 5.10 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่ 43b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา
                  เพื่อทําการปลูกขาวมีเนื้อที่ 5,416 ไร หรือรอยละ 0.59 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (7)  กลุมชุดดินที่เปนดินตื้นถึงลูกรังเศษหินหรือกอนหิน เปนกลุมดินที่พบในเขต

                  ฝนตกชุก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อละเอียด

                  หรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา บนพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินตื้น
                  มีการระบายน้ําดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวหรือดินรวนที่มีกรวดหรือลูกรังปะปนเปนปริมาณมาก

                  กรวดสวนใหญเปนพวกหินกลมมน หรือเศษหินที่มีเหล็กเคลือบ สีดินเปนสีน้ําตาลออน สีเหลืองหรือสีแดง

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดาง





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63