Page 55 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 55

3-8





                  ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง

                  5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา คาการนําไฟฟา

                  ของดินต่ํา ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา สวนบริเวณที่
                  หนาดินมีทรายปน และมีความลาดชันสูงมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินมากหากมีการจัดการดิน

                  ไมเหมาะสม ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ บาง

                  พื้นที่มีการปนคันนาเพื่อใชปลูกขาว แตพื้นที่ปลูกมีเพียงเล็กนอย บางแหงยังคงสภาพปาธรรมชาติ แบงเปน

                  หนวยที่ดินตางๆ คือ
                                - หนวยที่ดินที่ 26 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 10,042  ไร

                  หรือรอยละ 1.10 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                         -            หนวยที่ดินที่ 26b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 601 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่ 26C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 13,799 ไร หรือรอยละ

                  1.51 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (2)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหรือดินทรายแปงละเอียด เกิดจากการทับถมของตะกอน

                  ลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํา บนพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกที่มีการ
                  ระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวน หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง บางแหงอาจมีชั้นดินทรายละเอียด

                  สลับชั้นอยูและมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน สีดินเปนสีน้ําตาลหรือสีเหลืองปนน้ําตาล ดินมีความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบน
                  อยูระหวาง 4.5-6.0  คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวก

                  ที่เปนดางต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ

                  บางพื้นที่คงสภาพเปนทุงหญาตามธรรมชาติ พื้นที่ในหนวยที่ดินเหลานี้ไมคอยมีปญหาในเรื่อง

                  คุณสมบัติของดิน แตอาจมีปญหาเรื่องน้ําทวม สรางความเสียหายใหแกพืชผลที่ปลูก หากน้ําในลําน้ํา
                  มีปริมาณมากจนไหลเออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่ 32 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 31,895 ไร

                  หรือรอยละ 3.50 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่ 32b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 5,736 ไร หรือรอยละ 0.63 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  32gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 14,208 ไร หรือรอยละ 1.56 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60