Page 57 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 57

3-10





                                (4)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหยาบลึกถึงลึกมาก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่

                  ของหินตนกําเนิดชนิดตางๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี

                  หรือหินตะกอน หรือมาจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึก ที่มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนดินรวน

                  ปนทราย สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5  ปญหาสําคัญในการใช

                  ประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีความอุดมสมบูรณต่ําและมีปญหาเกี่ยวกับการชะลาง
                  พังทลายของหนาดินโดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูง ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกไมยืนตน

                  และไมผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 39 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 30,646 ไร
                  หรือรอยละ 3.36 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                     - หนวยที่ดินที่ 39b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 4,924 ไร หรือรอยละ 0.54 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่  39gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 10,825 ไร หรือรอยละ 1.19 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่  39gmb  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา  สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนาเพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 5,448 ไร หรือรอยละ 0.60 ของ
                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 39B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 49,466 ไร

                  หรือรอยละ 5.42 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                -  หนวยที่ดินที่ 39Bb สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเลกนอย มีการปนคันนาเพื่อ

                  ปลูกขาว มีเนื้อที่ 2,539 ไร หรือรอยละ 0.28 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 39C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 9,473 ไร หรือรอยละ
                  1.04 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (5)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายที่มีชั้นดานอินทรียภายในความลึก 100 เซนติเมตร

                  เปนกลุมดินที่พบบริเวณหาดทรายเกาหรือสันทรายชายทะเลเกิดจากการตะกอนทรายชายทะเล

                  บนพื้นที่ดอนที่มีลักษณะพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดีปานกลาง
                  เนื้อดินเปนทรายจัด สีดินบนเปนสีเทาแก ใตลงไปเปนชั้นทรายสีขาว ดินลางเปนชั้นสะสมของพวก

                  อินทรียวัตถุ เหล็กหรือฮิวมัส สีน้ําตาล สีแดง ชั้นเหลานี้มีการอัดตัวแนนเปนชั้นดาน มีความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62