Page 49 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 49

3-2





                  หางจากทะเลไมมากนัก มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึก

                  ที่มีการระบายน้ําเลว มีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองในฤดูแลง

                  และมีรอยถูไถลในดิน สีดินสวนมากจะเปนสีเทาหรือสีเทาแกตลอด และมีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง
                  หรือสีแดงปะปนตลอดชั้นดิน อาจพบผลึกยิปซั่มบางเล็กนอย จะพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสีเหลือง

                  ของสารจาโรไซตหรือชั้นที่แสดงถึงอิทธิพลของการเปนดินกรดจัด ในระดับความลึกประมาณ 100  ถึง

                  150  เซนติเมตรทับอยูบนชั้นดินเลนตะกอนน้ําทะเลที่มีสีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก

                  ถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.0-5.5  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง
                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชทํานา บางแหงมีการยกรองปลูกปาลมน้ํามัน และยางพารา หากไมมีการใชปูน

                  เพื่อแกไขความเปนกรดของดิน พืชที่ปลูกมักไมคอยไดผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่ 2 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,399 ไร
                  หรือรอยละ 0.15 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 2I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน

                  มีเนื้อที่ 6,862ไร หรือรอยละ 0.75 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  2M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 152 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  2MI  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 2,647 ไร หรือรอยละ 0.29 ของพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขา

                                (2)   กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกมากสีเทา ที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนลําน้ํา พบในบริเวณพื้นที่ราบตะกอนน้ําพาที่ลุม พื้นที่ลุมต่ํา มีน้ําไหลบาทวมขังสูงในฤดูฝน
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึก การระบายน้ําเลว

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา คาความเปนกรด-ดาง ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.5 คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญ
                  ใชทํานา บางพื้นที่มีการยกรองเพื่อปลูกไมยืนตน เชน ปาลมน้ํามัน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -  หนวยที่ดินที่ 6 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 12,889 ไร

                  หรือรอยละ 1.41 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 6I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน
                  มีเนื้อที่ 90,496 ไร หรือรอยละ 9.92 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่ 6M  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 5,183 ไร หรือรอยละ 0.57 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54