Page 30 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 30

21





                                                       สรุปผลการทดลอง


                           1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินก่อนและหลังการทดลองพบว่า การใช้น้ าหมักชีวภาพ

                    ทุกต ารับมีผลท าให้ ดินมีความหนาแน่นลดลง ความชื้นในดิน ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน และ ปริมาณ
                    อินทรียวัตถุของดินเพิ่มขึ้น  ปริมาณธาตุอาหารจะแปรผันแบบผกผันกับปริมาณผลผลิต กล่าวคือปริมาณ

                    ผลผลิตมากปริมาณธาตุอาหารในดินจะน้อย
                           2. การใช้น้ าหมักชีวภาพ  ที่ระดับความเข้มขันน้ าหมักชีวภาพ 1 ลิตร ต่อน้ า 1,500 ลิตร และ

                    ต่อน้ า  1,000  ลิตร มีผลท าให้ยางพารามีผลผลิตเพิ่มขึ้น  และการใช้น้ าหมักชีวภาพ  ที่ระดับความเข้ม

                    ขันน้ าหมักชีวภาพ 1 ลิตร ต่อน้ า 1,500 ลิตร ให้ผลผลิตเฉลี่ย 3 ปี สูงที่สุด
                           3. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 3 ปี จากผลการทดลอง พบว่า ต ารับที่ 3 มีต้นทุนการผลิต

                    เฉลี่ยต่ าสุด ส่วนต ารับที่ 4  มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยสูงที่สุด  แต่มีรายได้สุทธิเฉลี่ยสูงที่สุด


                                                         ข้อเสนอแนะ


                           1. ส่งเสริมให้เกษตรกร และผู้สนใจได้ใช้ประโยชน์ของการวิจัย ในการเพิ่มผลผลิตยางพารา โดย

                    ใช้ผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน

                           2. ควรมีการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการใช้น้ าหมักชีวภาพ  เช่น  ค่าแรงงาน  ค่าวัสดุ
                    ที่น ามาผลิต  ค่าขนส่ง  เป็นต้น



                                                        ประโยชน์ที่ได้รับ


                           1. การใช้น้ าหมักชีวภาพ  ท าให้ความหนาแน่นของดินลดลง  ความชื้นในดินเพิ่มขึ้น ความเป็น
                    กรดเป็นด่างของดินเพิ่มขึ้น  ผลผลิตเพิ่มขึ้น  รายได้สุทธิของเกษตรกรเพิ่มขึ้น

                           2. ได้แนวทางให้เกษตรกรใช้น้ าหมักชีวภาพ (ซุปเปอร์ พด.2) เพื่อเพิ่มผลผลิตยางพารา  โดยใช้

                    วัสดุในท้องถิ่นเพื่อลดต้นทุนการผลิต
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35