Page 28 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 28

19





                               100
                                90
                                80

                                70
                                                                                                ปี 2552 ก่อนด าเนินการ
                                60                                                              ปี 2552
                              K (mg/kg)   50                                                    ปี 2553

                                40
                                30
                                20                                                              ปี 2554
                                10
                                 0
                                         TR1           TR2           TR3           TR4
                     ภาพที่ 8 แสดงปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปีการทดลอง พ.ศ.2552 – 2554



                    2. ผลผลิตยางพารา
                           จากผลการทดลองพบว่าผลผลิตยางพาราเฉลี่ย  3  ปี  ต ารับที่ 4  ให้ผลผลิตยางพาราสูงที่สุด

                    คือ  366.61  กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  โดยมากกว่าต ารับที่  1, 2 และ 3 มีผลผลิตยางพารา  337.89, 317.29

                    และ 296.39 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  ตามล าดับ และมีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
                    ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของผลผลิตยางพารา  ในแต่ละต ารับการทดลอง  พบว่า  การใช้น้ าหมัก

                    ชีวภาพ  ที่ระดับความเข้มขันน้ าหมักชีวภาพ 1 ลิตร ต่อน้ า 1,500 ลิตร ผลผลิตยางพารามีแนวโน้ม
                    เพิ่มขึ้น  (ตารางที่ 2)  สอดคล้องกับ พบชาย (2548) ที่ใช้น้ าหมักชีวภาพกับยางพาราพบว่าน้ าหนักสด

                    และเปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นน้ ายางสูงกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว


                    ตารางที่ 2 ผลผลิตยางพารา  (กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี)  ปี 2552-2554


                                                                              ผลผลิต
                              ต ารับการทดลอง                             (กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี)

                                                           ปี 2552      ปี 2553      ปี 2554    เฉลี่ย 3 ปี

                   1  การปฏิบัติของเกษตรกร                 369.60        359.70      284.37     337.89ab
                   2  น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:500)     338.80        356.40      256.67     317.29ab

                   3  น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:1,000)     292.60      293.70      302.87      296.39b
                   4  น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:1,500)     296.45      415.80      387.57      366.61a

                                   F-test                                                           *

                                  CV (%)                                                          21.19

                    หมายเหตุ  *  = ที่ระดับความเชื่อมั่น  95 %
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33