Page 48 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 48

36




                                      2.2  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                                ดินก่อนการทดลองมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินเฉลี่ยเท่ากับ 1.29 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจัดอยู่ใน

                  ระดับปานกลาง (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)  หลังการทดลอง พบว่า ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุในดินของทุกวิธีการมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (ตารางที่ 4) ทุกวิธีการมี

                  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินลดลง โดยวิธีการที่ 1  (ควบคุม) และวิธีการที่ 2  (วิธีของเกษตรกร) มีปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดินในระดับค่อนข้างต่ า เท่ากับ 0.87  และ 1.04  เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ ส่วนวิธีการที่ 5

                  (ปลูกถั่วพร้า 10 กิโลกรัมต่อไร่ + ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่)  วิธีการที่ 4 (ปุ๋ยอินทรีย์
                  คุณภาพสูง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่)  และวิธีการที่ 3 (ปลูกถั่วพร้า 10 กิโลกรัมต่อไร่)  มีปริมาณอินทรียวัตถุ

                  ในดินสูงกว่าวิธีการอื่น และอยู่ในระดับปานกลาง เท่ากับ 1.22  1.19  และ 1.12  เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ






                                   1.4

                                   1.2
                                                           0.8
                                    1



                                   0.6

                                   0.4
                                   0.2

                                    0
                                           P         T1        T2       T3        T4        T5

                                    P =                                                       OM (%)




                          ภ พ  ่ 3  การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอินทรียวัตถุในดินของดินหลังการทดลอง


                                     2.3  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

                                ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยในดินก่อนการทดลอง เท่ากับ 33 มิลลิกรัมต่อ

                  กิโลกรัม ซึ่งจัดอยู่ในระดับสูง (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)  และหลังการทดลอง พบว่า
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4) และปริมาณฟอสฟอรัสที่

                  เป็นประโยชน์ของทุกวิธีการมีแนวโน้มลดลง  แต่ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ของทุกวิธีการอยู่ใน

                  ระดับสูง คือ  วิธีการที่ 2 (วิธีของเกษตรกร)  เท่ากับ 21  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม วิธีการที่ 3 (ปลูกถั่วพร้า 10
                  กิโลกรัมต่อไร่) เท่ากับ 21    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม วิธีการที่ 1 (ควบคุม) เท่ากับ 20  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53