Page 43 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 43

31




                                        ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ย 15-15-15 เป็นปุ๋ยรองพื้น อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

                                        ครั้งที่ 2 เมื่อข้าวโพดฝักอ่อนอายุ 20 วัน ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

                                   2.7.2  วิธีการที่ 4  ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 1,000  กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนการปลูก
                  ข้าวโพดฝักอ่อน

                                   2.7.3  วิธีการที่ 5  หลังจากไถกลบถั่วพร้าแล้ว  ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 1,000

                  กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนการปลูกข้าวโพดฝักอ่อน
                                   2.8 การดูแลรักษาข้าวโพดฝักอ่อน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                                  2.8.1 ฉีดพ่นปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพอัตราส่วน 1:500 เป็นเวลาทุกๆ เดือนในวิธีการทดลองที่

                  2, 3, 4 และ 5

                                  2.8.2  ก าจัดวัชพืชโดยใช้วิธีถอนด้วยมือและถากด้วยจอบ ตลอดจนฉีดสารก าจัดวัชพืช
                  ทุกๆ 2 สัปดาห์  ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกข้าวโพดหวาน

                                  2.8.3  ถอดยอด เมื่อข้าวโพดฝักอ่อนอายุประมาณ 35  วัน  ซึ่งข้าวโพดฝักอ่อนจะมีใบ

                  ยอด (ใบธงลักษณะแหลมๆ) การท าการถอดออก
                                  2.8.4 เมื่อข้าวโพดฝักอ่อนอายุได้ประมาณ 45-60 วัน จึงท าการเก็บเกี่ยว



                              3.  การเก็บข้อมูล


                                3.1 ข้อมูลปัจจัยการผลิต

                                วิเคราะห์สมบัติทางเคมีบางประการของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงโดยสุ่มเก็บตัวอย่าง

                  ดังกล่าวไปวิเคราะห์สมบัติทางเคมี และปริมาณธาตุอาหารหลักต่างๆ ก่อนการทดลอง  ได้แก่  ค่าความ

                  เป็นกรดเป็นด่าง (pH),  การน าไฟฟ้า (EC), ปริมาณอินทรียวัตถุ (%OM) สัดส่วนคาร์บอนไนโตรเจน
                  (C:N ratio)ไนโตรเจนทั้งหมด (%), ฟอสฟอรัสทั้งหมด (%)  โพแทสเซียมทั้งหมด (%) และการย่อยสลาย

                  เสร็จสมบูรณ์ โดยใช้วิธีการมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ของระเบียบกรมพัฒนาที่ดิน ว่าด้วยการใช้

                  เครื่องหมายรับรองมาตรฐานการผลิตทางการเกษตร พ.ศ. 2556 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2556)


                                3.2 ข้อมูลดิน

                                วิเคราะห์สมบัติทางเคมีบางประการของดินก่อนและหลังปลูกพืชที่ระดับความลึก 0-15
                  เซนติเมตร ของดินเพื่อเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงผลกระทบของวิธีการจัดการแบบต่างๆที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง

                  สมบัติดินบางประการคือปฏิกิริยาดิน ค่าการน าไฟฟ้าของสารละลายดิน อินทรียวัตถุในดิน ปริมาณ

                  ไนโตรเจนทั้งหมดในดิน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน
                  โดยใช้วิธีการมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน   ท าการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการทางเคมีดินของส านัก
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48