Page 49 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 49

37




                  วิธีการที่ 4 (ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) เท่ากับ 20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และวิธีการที่ 5

                  (ปลูกถั่วพร้า 10  กิโลกรัมต่อไร่ +  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 1,000  กิโลกรัมต่อไร่) เท่ากับ 20  มิลลิกรัมต่อ

                  กิโลกรัม ข้าวโพดต้องการธาตุอาหารเพื่อการพัฒนาและการสร้างผลผลิต  น าไปใช้ในกระบวนการทาง
                  สรีรวิทยาและการสะสมการสังเคราะห์ในส่วนต่าง  ๆ  ของข้าวโพด    ข้าวโพดต้องการธาตุไนโตรเจน

                  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในปริมาณที่สูง ส่วนธาตุอื่น ๆ ต้องการใน ปริมาณที่ไม่มากนักขึ้นอยู่กับ

                  ความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วย  (คณาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา,  2542)  ข้าวโพดต้องการฟอสฟอรัสในช่วง
                  ตั้งแต่เริ่มงอกและต้องการสูงสุดจนถึงระยะข้าวโพดแก่ (ราเชนทร์,  2539) อาจเป็นสาเหตุให้ปริมาณ

                  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินลดลงหลังการทดลอง







                                    35

                                    30
                                           ่              mg kg -1    25



                                    20

                                    15
                                    10

                                     5

                                     0
                                            P        T1       T2        T3       T4        T5

                                     P =                                          Available P (mg kg-1 )




                            ภ พ  ่ 4  การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ของดินหลังการทดลอง


                                      2.4  ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้

                                ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินก่อนการทดลอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 250
                  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งจัดอยู่ในระดับสูงมาก (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)  และหลัง

                  การทดลอง พบว่า โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4) และปริมาณ

                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ของทุกวิธีการมีแนวโน้มลดลง  แต่ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้

                  ของทุกวิธีการอยู่ในระดับสูงมาก คือ  วิธีการที่ 2 (วิธีของเกษตรกร)  เท่ากับ 195  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                  วิธีการที่ 4 (ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) เท่ากับ 185 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ส่วนวิธีการที่ 3
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54