Page 123 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 123

106


                      จนถึงระดับความลึกประมาณ 60 เซนติเมตร พบชั้นหินแกรนิต หรือชั้นก้อนหินแกรนิตขนาดใหญ่

                      ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์หนาปานกลาง ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30
                      เซนติเมตร ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ในเกณฑ์ร่วนซุยปานกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

                      เป็นกรดจัด ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ใน

                      เกณฑ์ต่ า โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า
                                       2.1.3)  แปลงป่าธรรมชาติ ด้านทิศตะวันออกของเขาทอง (ปมท.6) ชุดดินมาบ

                      บอนสภาพพื้นที่เป็นที่ลาดชันเชิงเขา (เขาบ่อขิง ด้านตะวันออก) การระบายน้ าของดินดี ลักษณะน้ า

                      ไหลบ่าเร็ว ลักษณะดินโดยสังเขปเป็นดินลึกปานกลาง มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด หรือ

                      เศษหิน โดยจะพบกรวดหรือ เศษหินมากในระดับความลึกมากกว่า 75 เซนติเมตร. ลงไป สีดินเป็นสี
                      น้ าตาลปนแดง เศษหิน หรือกรวด เป็นแร่เขี้ยวหนุมานและเศษหินแกรนิต ความหนาของชั้นดินบน

                      อยู่ในเกณฑ์หนามาก ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร ความหนาแน่นรวม

                      ของดินอยู่ในเกณฑ์ร่วนซุยปานกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเป็นกรดจัดมาก ปริมาณ

                      อินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า โพแทสเซียมที่
                      เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า

                                       2.1.4)  แปลงป่าธรรมชาติเขาบ่อขิง (ปมท.8)  ชุดดินภูสะนาสภาพพื้นที่เป็นที่

                      ลาดชันเชิงเขา (เขาบ่อขิง) การระบายน้ าของดินดี ลักษณะน้ าไหลบ่าเร็ว ลักษณะดินโดยสังเขปเป็น
                      ดินตื้น มีเนื้อดินเป็นดินทรายปนกรวด และเศษหิน ดินมีสีน้ าตาล พบชั้นหินแกรนิตใน ระดับความ

                      ลึกประมาณ 35-50 เซนติเมตร บริเวณผิวดิน มีหินแกรนิตก้อนขนาดใหญ่ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป

                      ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์หนาปานกลาง ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30
                      เซนติเมตร ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ในเกณฑ์ร่วนซุยปานกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

                      เป็นกรดจัด ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ใน

                      เกณฑ์ต่ า โปรแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า
                            2. ผลการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทางกายภาพและทางเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของ

                      ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยจัดเก็บข้อมูลอยู่  2  ประเภท  คือ

                                  2.1) เป็นแปลงปลูกป่า  (แปลง ปมท. 1, 2 , 4 และ 7)

                                         ซึ่งมีลักษณะเนื้อดินส่วนใหญ่ค่อนข้างเป็นดินทราย  ดินชั้นบนเป็นดินร่วน
                      ปนทราย ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินทรายจัด ซึ่งเกิดจากการชะล้างของหน้าดินในพื้นที่ตอนบน เมื่อมี

                      ฝนตกท าให้ตะกอนไหลมาทับถมกันในพื้นที่ตอนล่าง หรือในที่ราบ  มีลักษณะดินทางกายภาพ มี

                      ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์ประเมินหนาปานกลาง มีการเพิ่มความหนาของชั้นดินบนช้า
                      มาก ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ในเกณฑ์ประเมินร่วนซุยปานกลางถึงร่วน

                      ซุยมาก เนื่องจากเป็นดินร่วนปนทราย การระบายน้ าดี ไม่อุ้มน้ า คุณสมบัติทางเคมี  อินทรียวัตถุใน

                      ดินต่ า
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128