Page 121 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 121

บทที่ 5

                                                        สรุปผลการศึกษา


                      5.1 สรุปผลการศึกษาและอภิปรายผล
                            ผลการศึกษาลักษณะของดิน คุณสมบัติของดินทางกายภาพและทางเคมีของดินบริเวณพื้นที่

                      ปลูกป่าศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชด าริ

                            1. การศึกษาพบว่า  ลักษณะของดินคุณสมบัติของดินด้านกายภาพและทางเคมีของดินใน

                      แปลงศึกษาทั้ง 8 แปลง มีดังนี้
                                  1.1) แปลงปลูกป่ามีแปลง ปมท.1, 2, 4 และ 7

                                       1.1.1)  แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2542 (ปมท.  1)  ชุดดินหุบกระพงสภาพพื้นที่เป็นที่

                      ลาดเชิงเขา การระบายน้ าดี ลักษณะน้ าไหลบ่าเร็วปานกลาง  เป็นดินลึกปานกลาง มีเนื้อดินเป็นดิน
                      ร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเหลือง ในชั้นดินตอนบน ส่วนชั้นดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด

                      และเศษหินแกรนิต มีสีดินเป็น สีน้ าตาลปนเหลือง  ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์หนาปาน

                      กลาง ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ใน
                      เกณฑ์ร่วนซุยปานกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดินเป็นกรดจัดมาก ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ใน

                      เกณฑ์ต่ า ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ใน

                      เกณฑ์ต่ า
                                       1.1.2) แปลงป่าปลูก พ.ศ. 2537 (ปทม.2) ชุดดินสัตหีบสภาพพื้นที่เป็นที่ดอนที่มี

                      ความลาดชันเล็กน้อย การระบายน้ าของดินค่อนข้างมา ลักษณะน้ าไหลบ่า ช้าน้ าซึมผ่านเร็ว ดินมี

                      ความสามารถในการอุ้มน้ าน้อย ลักษณะดินชั้นบน มีหน้าดินหนาพอประมาณ เป็นดินทรายสีน้ าตาล

                      ปนเทา ลักษณะดินชั้นล่าง เป็นดินทรายตลอดจนถึงระดับความลึก 150 ซม.สีดินเป็นสีน้ าตาลอ่อน
                      ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์หนาปานกลาง ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30

                      เซนติเมตร ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ในเกณฑ์ร่วนซุยปานกลาง ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

                      เป็นกรดจัดมาก ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ต่ า ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า

                      โปรแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินอยู่ในเกณฑ์ต่ า
                                       1.1.3) แปลงป่าปลูก พ.ศ. 2534 (ปทม.4) ชุดดินมาบบอนสภาพพื้นที่เป็นที่ลาด

                      ชันเชิงเขาการระบายน้ าของดินดี ลักษณะน้ าไหลบ่าเร็ว ลักษณะดินโดยสังเขปเป็นดินตื้น บนชั้น

                      หินแกรนิตในระดับความลึกประมาณ 60 ซม. ดินมีเนื้อเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด และเศษหิน
                      ลักษณะดินชั้นบนมีหน้าดินหนาพอประมาณ เป็นดินทรายสีด าคล้ า มีกรวดซึ่งเป็น แร่ เขียวหนุมาน

                      (quartz)  ปะปน ลักษณะดินชั้นล่างเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด สีน้ าตาลอ่อนในระดับความลึก

                      ประมาณ60 ซม. ลงไป พบชั้นหินแกรนิต ซึ่งเป็นชั้นหินพื้น  ความหนาของชั้นดินบนอยู่ในเกณฑ์
                      หนามาก ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร ความหนาแน่นรวมของดินอยู่ใน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126