Page 125 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 125

108


                                            โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ แปลงป่า

                      ธรรมชาติ ปมท.6  เดิมอยู่ในเกณฑ์ประเมินต่ าเปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ประเมินปานกลางถึงสูงได้ดี
                      เนื่องจากความชื้นในดินที่ช่วยละลายธาตุอาหารที่จ าเป็นออกมา ได้ดีกว่าแปลงป่าปลูก ท าให้การ

                      เจริญเติบโตของป่าไม้ได้เร็ว ควรมีมาตรการการป้องกันการเผาป่า การท าแนวป้องกันไฟก็จะช่วย

                      ให้การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและฟื้นฟูป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก
                      พระราชด าริได้ และเป็นการช่วยเป็นแหล่งต้นน้ าล าธารและการอยู่อาศัยของสัตว์ป่าเพิ่มขึ้นต่อไป


                      5.2 ข้อเสนอแนะ
                            ข้อเสนอแนะในการปลูกป่าในพื้นที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก

                      พระราชด าริครั้งต่อไปควรด าเนินการดังนี้

                                  1. ตรวจวิเคราะห์ดินก่อนปลูกเพื่อจะได้ทราบปัญหาสมบัติทางเคมีของดินและจะได้

                      หาแนวทางแก้ไขได้ถูกต้อง เช่น ในกรณีที่พบครั้งนี้ดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมากควรใช้ปูน
                      โดโลไมท์อัตราตามค าแนะน าของกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนาที่ดิน

                      เพื่อจะได้ลดความเป็นกรดด่างของดิน

                                  2. มีการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ โดยการใช้ปุ๋ยพืชสด เมล็ดพันธ์ปอเทือง ถั่ว
                      พร้า ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกบ ารุงดินก่อนปลูกเพื่อจะได้

                                       - ช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพดิน ท าให้ดินร่วนซุย การระบายอากาศและ

                      การอุ้มน้ าของดินดีขึ้น
                                       - เป็นแหล่งธาตุอาหารพืชทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และจุลธาตุ

                                       - ดูดยึดและเป็นแหล่งเก็บธาตุอาหารในดินไม่ให้ถูกชะล้างสูญเสียไปได้ง่าย

                      และปลดปล่อยออกมาให้พืชใช้ประโยชน์ทีละน้อย
                                       - เพิ่มความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

                                       - เพิ่มแหล่งอาหารของจุลลินทรีย์ดิน


                      5.3  ประโยชน์ที่ได้รับ

                            1. ทราบลักษณะของดินคุณสมบัติของดินด้านกายภาพและสมบัติของดินในแปลงศึกษาทั้ง 8

                      แปลง
                            2. ทราบผลการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ทางกายภาพและทางเคมีในสภาพพื้นที่แห่งป่าไม้

                      ธรรมชาติและป่าที่ปลูก

                            3. สามารถน าผลที่ได้ไปขยายผลและเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัยในปีต่อไปได้

                            4. เป็นแหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์ดินและน้ า และแหล่งศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงตาม
                      ธรรมชาติเพื่อแก้ปัญหาให้กับเกษตรกรในพื้นที่และนอกพื้นที่ต่อไป
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130