Page 124 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 124

107


                                            ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินมีการเปลี่ยนแปลงของ pH ในดินเพิ่มขึ้น

                        ท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ลดลงจากความเป็นกรดจัดมากเปลี่ยนเป็นกรดจัด
                        เปลี่ยนแปลงมากที่สุดคือ แปลงปลูกป่า พ.ศ. 2542 ปมท.1  จากการเพิ่มขึ้นของความชื้นในดินและ

                        อินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ต้องมีการปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดิน โดยใช้โดโล

                        ไมท์ช่วยปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้สูงขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับการปลูกพืช
                                            การเปลี่ยนแปลงของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน และโพแทสเซียม

                      ที่เป็นประโยชน์ในดินต่ า ดังนั้นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุก่อนการปลูกพืช เช่น

                      ถั่วพร้า ปอเทือง และน้ าหมักชีวภาพเพื่อเป็นการเพิ่มฮอร์โมนพืชและธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับการ

                      เจริญเติบโตของพืช ควรมีการใส่ปุ๋ยเคมีควบคู่ไปด้วย และใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยจัดท า
                      คันดินกั้นน้ าแบบฐานแคบลักษณะที่ 4  เพื่อช่วยในการลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และเพิ่ม

                      ความชุ่มชื้นในแปลงปลูกป่า เพราะปริมาณน้ าฝนที่ตกในพื้นที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย

                      อันเนื่องมาจากพระราชด าริน้อยมาก เพื่อจะได้ช่วยในการปลูกป่าได้เจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น  และจะ

                      ได้ช่วยให้กิจกรรมต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะคุณภาพดินทางด้านกายภาพ และคุณสมบัติ
                      ทางเคมี  ในบริเวณแปลงป่าไม้ได้ดียิ่งขึ้น เพราะจากการศึกษาพบว่าเมื่อเวลาผ่านไปความชื้นในดินมี

                      ผลต่อการเปลี่ยนแปลง

                                     2.2) เป็นแปลงป่าธรรมชาติ (แปลง ปมท. 3 , 5 , 6  และ  8)
                                            มีลักษณะเป็นป่าทุติยภูมิมีหน้าดินตื้นถึงหนาปานกลาง เนื้อดินเป็นดิน

                      ร่วนปนทราย ปนเศษหิน ดินร่วนซุย และบางพื้นที่พบชั้นหินแกรนิตผุ และชั้นดานมีอุปสรรคต่อ

                      การชอนไช และการแพร่กระจายของรากพืชมีสภาพพื้นที่ค่อนข้างลาดชัน ควรอนุรักษ์เป็นป่าต้นน้ า
                      ล าธาร เป็นการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก มีลักษณะทางกายภาพ เช่น ความหนาของชั้นหน้าดินมีการ

                      เปลี่ยนแปลงมากที่สุด คือ แปลงป่าธรรมชาติ ปมท.3

                                            ความหนาของชั้นดินบนเพิ่มขึ้นได้เร็วกว่าแปลงป่าปลูก เนื่องจากการล่วง
                      หล่นและทับถมของใบไม้มากกว่า ปริมาณความหนาแน่นรวมของดินที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุด คือ

                      แปลงป่าธรรมชาติ ปมท.3 อยู่ในเกณฑ์ประเมินร่วนซุยปานกลางถึงร่วนซุยมาก ได้จากการเพิ่มขึ้น

                      ของอินทรียวัตถุและความชื้นในดิน และการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมี

                                            ค่าความเป็นกรดเป็นด่างเปลี่ยนแปลงจากเกณฑ์ประเมินกรดจัดไปเป็น
                      กรดน้อย–ปานกลาง ท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินไม่มีผลต่อการดูดซับธาตุอาหารในดินที่

                      มีประโยชน์ต่อพืชยึดไว้ พืชสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

                                            ปริมาณอินทรียวัตถุที่เปลี่ยนแปลงจากเดิมมากที่สุดคือ แปลงป่าธรรมชาติ
                      ปมท.5 ที่อยู่ในเกณฑ์ต่ าเปลี่ยนอยู่เกณฑ์ประเมินปานกลางได้ดีกว่าแปลงป่าปลูก

                                            การเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินมากที่สุดคือ

                      แปลงป่าธรรมชาติ ปมท.8
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129