Page 33 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 33

14





                                 (2)  ดินเค็มปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.40 ของพื นที นาในจังหวัด ส่วนมากอยู่ในพื นที

                 ราบเขตอําเภอเขื องใน และอําเภอม่วงสามสิบ

                                 (3)  ดินเค็มจัด คิดเป็นร้อยละ 2 ของพื นที นาในจังหวัดอยู่ในเขตพื นที อําเภอเขื องใน
                 และอําเภอม่วงสามสิบ

                             โดยภาพรวมแล้ว ดินในจังหวัดอุบลราชธานีมีศักยภาพปานกลางเหมาะสําหรับการพัฒนาการ

                 เกษตร ดังนั นการปรับปรุงการพัฒนาด้านความอุดมสมบูรณ์ของดินจึงเป็นสิ งจําเป็น เช่น การจัดเสริมด้าน

                 ความอุดมสมบูรณ์ของดินนาโดยใช้วิธีการใส่ปุ๋ ยเคมีหรือปุ๋ ยคอก ดินที มีศักยภาพสูง ในการผลิตพืชไร่
                 ส่วนใหญ่อยู่ในพื นที สูง ซึ งเป็นเขตที มีอัตราการชะล้างของหน้าดินค่อนข้างสูง ดินที มีศักยภาพสูงในการ

                 ปลูกข้าวส่วนใหญ่อยู่ใกล้แม่นํ า นอกจากนี ดินบางส่วนยังเป็นดินที มีปัญหา เช่น ดินเค็ม หน้าดินตื น และ

                 เป็นทรายจัด เป็นต้น ( กรมพัฒนาที ดิน,2550)

                       2.4.2  ทรัพยากรนํ.า แหล่งนํ าที สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานีแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี
                            1)     แหล่งนํ.าผิวดิน ได้แก่ แหล่งนํ าธรรมชาติ  นํ าในแม่นํ าลําคลองต่าง ๆ และลํานํ าต่าง ๆ

                 จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดปลายนํ า แม่นํ าที สําคัญ ๆ ทุกสายของภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนมากจะ

                 ไหลมาบรรจบกันที จังหวัดอุบลราชธานี ซึ งแม่นํ าและลํานํ าที สําคัญ ได้แก่ แม่นํ าลํานํ ามูล แม่นํ าชีลําเซบก
                 ลําเซบาย ลําโดมใหญ่ ลําโดมน้อย นอกจากนี จังหวัดอุบลราชธานียังมีบึงและหนองนํ ากระจายอยู่ทั วไป

                 ซึ งมีแม่นํ าและลํานํ าที สําคัญคือ

                                  -  แม่นํ.าโขง เป็นแม่นํ าที ไหลผ่านหลายประเทศและไหลผ่านจังหวัดอุบลราชธานีใน

                 ท้องที อําเภอเขมราฐ อําเภอศรีเมืองใหม่ ช่วงไหลผ่านจังหวัดอุบลราชธานี มีความยาวประมาณ   310
                 กิโลเมตร แม่นํ าโขงเป็นเส้นกั นเขตแดน ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                                 -  แม่นํ.ามูล เฉพาะตอนที ไหลผ่านจังหวัดอุบลราชธานี มีความยาวประมาณ 100

                 กิโลเมตร ไหลผ่านอําเภอเมืองอุบลราชธานี วารินชําราบ พิบูลมังสาหาร และโขงเจียม ตั งแต่อําเภอพิบูลมัง

                 สาหารเป็นต้นไปแม่นํ ามูลไหลผ่านทิวเขา มีแก่งหินขวางเกือบตลอดลํานํ า ที รู้จักกันดี คือ  แก่งสะพือ และ
                 แก่งตะนะ เป็นต้น ซึ งแก่งเหล่านี ช่วยกั นนํ าในฤดูแล้ง ปัจจุบันได้มีการสร้างเขื อนปากมูล ที ปากแม่นํ ามูล

                 แล้ว

                                 -  แม่นํ.าชี  เป็นสาขาใหญ่ของแม่นํ ามูลไหลผ่านจังหวัดอุบลราชธานี ในท้องที อําเภอ
                 เขื องในไหลผ่านไปบรรจบกับแม่นํ ามูล แม่นํ าชีมีกระแสนํ าไหลอยู่ตลอดปี แต่ในหน้าแล้งนํ าจะเหลือน้อย

                 จึงไม่เพียงพอต่อการทําชลประทานเพื อการเกษตร

                                 -  ลํานํ.าเซบก เป็นสาขาหนึ งของแม่นํ ามูล มีความยาวประมาณ 150 กิโลเมตร  ไหลผ่าน
                 อําเภออํานาจเจริญ อําเภอม่วงสามสิบ และอําเภอตระการพืชผล แล้วไหลผ่านไปบรรจบกับแม่นํ ามูลที เขต

                 แดนระหว่างอําเภอเมืองอุบลราชธานี และอําเภอพิบูลมังสาหาร
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38