Page 35 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 35

16





                 การขาดแคลนนํ า รัฐได้เข้าดําเนินการพัฒนาแหล่งนํ า โดยการจัดสร้างอ่างเก็บนํ า เหมืองฝาย

                 บ่อนํ าตื น สระนํ า ทํานบกั นนํ า และเขื อน ซึ งเขื อนที สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานี

                                 -  เขื อนสิรินธรหรือเขื อนลําโดมน้อย ตั งอยู่ในเขตอําเภอสิรินธร ขนาดของเขื อนสูง 42

                 เมตร ยาว 950 เมตร สันเขื อนกว้าง 7.50 เมตร เก็บนํ าได้ 1,550 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื อนลําโดมน้อยหรือ
                 เขื อนสิรินธรนอกจากสร้างขึ นเพื อผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยแล้ว ยังสามารถส่งนํ าช่วยเหลือในการเพาะปลูกแก่

                 เกษตรกรในท้องที ในลุ่มนํ าโดมน้อยได้ถึงประมาณ 150,000 ไร่ นอกจากนี   จากสํานักงานพลังงานแห่งชาติ

                 ยังมีโครงการสูบนํ าด้วยไฟฟ้า เพื อใช้ในการเพาะปลูกตามแนวลํานํ าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ งรวมทั ง

                 ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีด้วย
                                 -  เขื อนปากมูล ตั งอยู่บริเวณบ้านหัวเห่ว อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานีห่างจากจุด

                 บรรจบของแม่นํ ามูลและแม่นํ าโขงประมาณ 6 กิโลเมตร ห่างจากอําเภอเมืองอุบลราชธานีประมาณ 70

                 กิโลเมตร เป็นเขื อนที มีขนาดความสูง 17 เมตร ยาว 300 เมตร สันเขื อนกว้าง 6 เมตร เก็บนํ าได้ 225 ล้าน
                 ลูกบาศก์เมตร ติดตั งประตูควบคุมนํ าฉุกเฉิน 8 บาน ติดตั งเครื องกําเนิดไฟฟ้ า 4 เครื อง ผลิตกําลังไฟฟ้ าได้

                 136 เมกกะวัตต์ หรือปีละ 280 ล้านกิโลเมตร / ชั วโมงอํานวยประโยชน์ด้านการเกษตรได้ประมาณ 1.6 แสน

                 ไร่ นอกจากจะผลิตกระแสไฟฟ้ าและใช้ประโยชน์ด้านการชลประทานแล้ว สันเขื อนยังเป็นเส้นทางลัดจาก
                 อําเภอโขงเจียมไปยังอําเภอสิรินธรโดยไม่ต้องย้อนไปอําเภอพิบูลมังสาหาร ตลอดจนเป็นแหล่งท่องเที ยวที

                 เป็นที รู้จักกันโดยทั วไป

                       2.4.3   ทรัพยากรป่ าไม้

                             ป่าไม้ในจังหวัดอุบลราชธานีมีทั งป่าเต็งรังหรือป่าแดงที มีอยู่ทั วไปป่าดงดิบ และป่าผสมมีอยู่
                 ในเขตอําเภอนํ ายืน ส่วนป่าเบญจพรรณ มีอยู่ในบริเวณอําเภอเขมราฐ อําเภอบุณฑริก และอําเภอพิบูลมังสาหาร

                 ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้กระยาเลย ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตะแบก ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้กันเกรา เป็นต้น จากข้อมูลของ

                 สํานักงานป่ าไม้จังหวัดอุบลราชธานีเมื อเดือนตุลาคม พ.ศ.2543 พบว่า พื นที คงสภาพป่ าของจังหวัด
                 อุบลราชธานีมีเนื อที ประมาณ1,678,332 ไร่  ป่าถาวร ตามมติ ครม. จํานวน 1 ป่า เนื อที  77,312.50 ไร่ ,

                 ป่าสงวนแห่งชาติ จํานวน 46 ป่า, พื นที ป่ามอบให้ สปก. จํานวน 40 ป่า ,    ป่าอนุรักษ์ ตาม มติ ครม. จํานวน

                 10 ป่า , ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย จํานวน 5 ป่า, สวนป่า  จํานวน 15 ป่า ( ที มา :  ข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ

                 ของจังหวัด , 30 พฤษภาคม 2551 )

                             พื นที ป่าไม้ที เหลืออยู่นี จะขึ นอยู่หนาแน่นบริเวณแนวชายแดนเป็นส่วนใหญ่เพราะมีสภาพเป็น

                 ภูเขาสูงไม่เหมาะต่อการเกษตรกรรม และเป็นเขตหวงห้ามของทางราชการซึ งบางพื นที ไม่มีความปลอดภัย
                 จังหวัดอุบลราชธานีมีพื นที ป่าไม้ตามกฎหมายที เป็นป่าสงวนแห่งชาติบางส่วนทางราชการได้ตราพระราช

                 กฤษฎีกากําหนดให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทับซ้อนอยู่ด้วย แยกรายละเอียดดังนี
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40