Page 28 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 28
9
2.2 ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดอุบลราชธานีตั งอยู่ในบริเวณที เรียกว่า แอ่งโคราช (Khorat Basin) โดยสูงจากระดับนํ าทะเล
เฉลี ยประมาณ 68 เมตร (227 ฟุต) ลักษณะโดยทั วไปเป็นที สูงตํ า เป็นที ราบสูงลาดเอียงไปทางตะวันออก มี
แม่นํ าโขงเป็นแนวเขตกั นจังหวัดอุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแม่นํ าชีไหลมา
บรรจบกับแม่นํ ามูลซึ งไหลผ่านกลางจังหวัดจากทิศตะวันตกมายังทิศตะวันออกแล้วไหลลงสู่แม่นํ าโขงที
อําเภอโขงเจียม และมีลํานํ าใหญ่ ๆ อีกหลายสาย ได้แก่ ลําเซบก ลําโดมใหญ่ ลําโดมน้อย และมีภูเขา
สลับซับซ้อนหลายแห่งทางบริเวณชายแดนตอนใต้ ที สําคัญคือ ทิวเขาบรรทัดและทิวเขาพนมดงรัก ซึ งกั น
อาณาเขตระหว่างจังหวัดอุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชา
ลักษณะภูมิสัณฐานของจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งออกโดยสังเขป ดังนี
บริเวณที เป็นสันดินริมนํ.า (River levee) เกิดจากตะกอนลํานํ าที พัดพามาทับถม สภาพพื นที เป็นเนิน
สันดินริมฝั งแม่นํ าโขง และบางบริเวณสันดินริมฝั งลําเซบาย
บริเวณที เป็ นแบบตะพักลํานํ.า (Terrace) ที เกิดจากการกระทําของขบวนการของนํ านานมาแล้ว
ประกอบด้วยบริเวณที เป็นลานตะพักลํานํ าระดับตํ า ระดับกลาง และระดับสูง ลักษณะพื นที ที มีทั งที เป็นที
ราบแบบลูกคลื นลอนลาดจนถึงลูกคลื นลอนชัน จะอยู่ถัดจากบริเวณที ราบลุ่มนํ าท่วมถึงขึ นมา พื นที เหล่านี
จะพบในบริเวณทั วไปของจังหวัด กล่าวคือทางตอนเหนือ ทางตะวันออก และทางใต้ บางแห่งใช้สําหรับทํา
นาและบางแห่งใช้สําหรับปลูกพืชไร่
บริเวณที เป็นแอ่ง (Depression) หรือที ลุ่มตํ าหลังลํานํ.า (back swamp) เกิดจากการกระทําของนํ าพบ
บางแห่งในบริเวณริมแม่นํ าโขง แม่นํ าชี ลําเซบาย และลําโดมใหญ่ จะมีนํ าแช่ขังนานในฤดูฝน
บริเวณที เป็นเนินตะกอนรูปพัด (Coalescing fans) สภาพพื นที แบบนี มีลักษณะเด่นคือ รูปร่างจะเป็น
รูปพัด เกิดจากการที หินในบริเวณเหล่านั นถูกทําให้แตกหักสะสมอยู่กับพวกที มีอนุภาคละเอียดกว่าเมื อฝน
ตกลงมาในปริมาณมาก กําลังของนํ าจะมีมากจนสามารถพัดพาเอาตะกอนเหล่านั นออกมานอกหุบเขาได้
เมื อมาถึงนอกหุบเขาหรือเชิงเขา สภาพพื นที ก็จะเป็นที ราบทางนํ าไหลกระจายออกไป ทําให้กําลังของนํ า
ลดลง ก็จะตกตะกอนในบริเวณนํ า จะพบอยู่ทางตอนใต้และทางตะวันตกของจังหวัด
บริเวณที เป็นเนินที เกิดจากการไหลของธารลาวา (Lava flow hill) เป็นเนินเขาที เกิดจากการไหลของ
ธารลาวา ดินบริเวณนี จะมีศักยภาพทางการเกษตรสูง ซึ งเป็นผลจากการสลายตัวผุพังของหินบะซอลต์
บริเวณนี จะพบอยู่ในอําเภอนํ ายืน
บริเวณที ลาดเชิงเขา (Foot hill slope) เป็นที ลาดเชิงเขาที ตะกอนบริเวณที เกิดจากการกระทําของนํ า
นานมาแล้วทับถมกัน บริเวณนี จะพบอยู่ในอําเภอโขงเจียม อําเภอพิบูลมังสาหาร อําเภอศรีเมืองใหม่ และ
อําเภอตระการพืชผล