Page 38 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 38
19
2.5 สภาพเศรษฐกิจและสังคม
จังหวัดอุบลราชธานี มีประชากรทั งสิ น 1,803,754 คน เป็นชาย 904,698 คน เป็นหญิง 899,056 คน
หรือความหนาแน่น 111.95 ตร.กม. ถือว่าเป็นจังหวัดที มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ
ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ (สนง.สถิติจังหวัดอุบลราชธานี,2552)
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดอุบลราชธานี โดยรวมปีพ.ศ.2550 พิจารณาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
(Gross Provincial Product : GPP) มีมูลค่าเพิ ม ณ ราคาประจําปี เท่ากับ 110,156 ล้านบาท เพิ มขึ นจาก98,796
ล้านบาท ในปีที ผ่านมา เท่ากับ 11,360 ล้านบาทการผลิตโดยรวมมีอัตราขยายตัวของมูลค่าเพิ ม ณ ราคาคงที
ขยายตัวร้อยละ 5.7 จากที ขยายตัวเพียงร้อยละ 2.3ในปีที ผ่านมา โดยมีตัวผลักดันหลักมาจากการผลิตภาค
นอกเกษตรที ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 6.2 สาขาหลักที ขยายตัว ได้แก่สาขาการขายส่ง ขายปลีกฯ อุตสาหกรรม
อสังหาริมทรัพย์การขนส่ง บริหารราชการแผ่นดินฯ การศึกษา ตัวกลางทางการเงิน บริการด้านสุขภาพ และ
ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล เป็นต้น ส่วนภาคเกษตรขยายตัวเพียงร้อยละ 3.0 ชะลอตัวจากที ขยายตัวร้อย
ละ 4.2 ในปีที ผ่านมาเนื องจากสาขาหลักในภาคนี ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมการล่าสัตว์และการป่าไม้ชะลอ
ตัวเล็กน้อย
การผลิตภาคเกษตร มีสัดส่วนร้อยละ 20.3 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ทั งจังหวัด และมี
มูลค่าเพิ ม ณ ราคาประจําปี เท่ากับ 22,382 ล้านบาท เพิ มขึ นจาก18,265 ล้านบาทในปีที ผ่านมา เท่ากับ 4,117
ล้านบาทการผลิตมีอัตราขยายตัวของมูลค่าเพิ ม ณ ราคาคงที ชะลอตัวร้อยละ 3.0 จากที ขยายตัวร้อยละ 4.2
ในปีที ผ่านมาสาเหตุจากสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ชะลอตัวร้อยละ 1.7 เนื องจากการผลิต
ของหมวดพืชชะลอตัวร้อยละ 3.1 จากที ขยายตัวร้อยละ 3.9 ในปีที แล้วโดยเฉพาะพืชที สําคัญของจังหวัด
เช่น ข้าวเจ้านาปีผลผลิตกลับปรับตัวลดลง เนื องจากมีการปรับเปลี ยนพื นที ไปเพาะปลูกพืชชนิดอื นแทน แต่
ขณะเดียวกันผลผลิตจากข้าวเหนียวนาปี มันสําปะหลังและยางพาราปรับตัวเพิ มขึ น เป็นผลจากภาวะ
อากาศเอื ออํานวยและตามแรงจูงใจด้านราคาที สูงและมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ น ส่งผลให้ผลผลิตในภาพรวม
ของหมวดพืชขยายตัวโดยมีทิศทางชะลอตัวจากปีที ผ่านมา ส่วนหมวดปศุสัตว์หดตัวร้อยละ 4.3 แต่ปรับตัวดี
ขึ นจากปีก่อน ที หดตัวถึงร้อยละ 9.5 เนื องจากการเลี ยงโคและสุกรปรับตัวสูงขึ นแต่อย่างไรก็ตามการผลิต
กระบือซึ งเป็นกิจกรรมหลักของหมวดกลับหดตัวสูงถึง ร้อยละ 26.9 เนื องจากตลาดมีความต้องการน้อยลง
หมวดบริการทางการเกษตรไม่เปลี ยนแปลง เนื องจากพื นที ที ต้องใช้บริการทางการเกษตรมีจํานวน
เปลี ยนแปลงไม่มากนัก ส่วนหมวดการป่าไม้ ขยายตัวร้อยละ 4.6 สาขาประมงขยายตัวร้อยละ 17.3 เทียบกับ
การขยายตัวร้อยละ 4.1ในปีที ผ่านมา เป็นผลมาจากการจับสัตว์นํ าจืดจากแหล่งธรรมชาติเพิ มขึ น
การผลิตนอกภาคเกษตร มีสัดส่วนร้อยละ 79.7ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ทั งจังหวัด
และมีมูลค่าเพิ ม ณ ราคาประจําปี เท่ากับ 87,774 ล้านบาท เพิ มขึ นจาก 80,530 ล้านบาท ในปีที ผ่านมา เท่ากับ