Page 29 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 29
10
บริเวณที ลาดเชิงซ้อน (Slope complex) ลักษณะเป็นภูเขาหรือทิวเขามีความลาดชันมากกว่า 35
เปอร์เซ็นต์ จะพบบริเวณทิวเขาพนมดงรักในอําเภอนํ ายืน อําเภอนาจะหลวย และอําเภอบุณฑริก อีกแห่ง
หนึ งคือ ทิวเขาภูเขาซึ งจะพบมากในอําเภอโขงเจียมและอําเภอศรีเมืองใหม่
ภูเขา/เทือกเขาที สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานี
1) ทิวเขาพนมดงรัก หรือทิวเขาพนมดงแร็ก ซึ งแปลว่า ภูเขาไม้คาน ประกอบด้วยหลายยอด
เขาในส่วนของพื นที จังหวัดอุบลราชธานี จะเป็นส่วนของทิวเขาที สูงที สุด เช่น ยอดภูต่างต่อเนื องกับเขต
อําเภอบุณฑริกเป็นจุดที สูงสุดประมาณ 784 เมตร รองลงมาคือยอดเขาภูโดมใหญ่สูงประมาณ 753 เมตร อยู่
ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขายอดโดม ลักษณะของทิวเขาจะทอดยาวจนจดปากแม่นํ ามูล
2) ทิวเขาภูพานตะวันออก อยู่บริเวณทิวเขาทางตอนเหนือของจังหวัด เป็นบริเวณตอนปลาย
ของทิวเขาภูพาน มีลักษณะที ไม่ต่อเนื องจึงเป็นภูเขาที เชื อมต่อกับเนินเขาและที สูงลานหินโผล่สลับกับพื นที
ราบที ดอน ภูเขาและยอดเขาที สําคัญได้แก่ ภูผาขาม ภูโหล่น ภูผาขาว ภูสะมุย ภูดงนาทาม ภูผาชัน ภูโลง
และภูจันทร์แดง
3) ภูจองนายอย เป็นส่วนหนึ งของเทือกเขาพนมดงรัก มีลักษณะสัณฐานคล้ายโดมหรือฝาชี
ซึ งเป็นสัณฐานของภูเขาไฟทั งๆที เป็นภูเขาหินชุดโคราช ทําให้เกิดกระบวนการไหลของลําธารแตกกระจาย
เป็นลักษณะรัศมี ปัจจุบันเป็นอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย ที มีความหลากหลายทางชีวภาพ
4) ภูเขาไฟนํ ายืน มีลักษณะเป็นเนินเขาธารลาวา (Lava Flow) เป็นพื นที บริเวณเดียวของ
จังหวัดที เป็นเนินภูเขาไฟ มียอดเนินเขาสูงประมาณ 258 เมตร ปัจจุบันเป็นเขตกสิกรรมพืชไร่พืชสวน
ไม้ผล ซึ งมีอยู่ 2 แหล่งที สําคัญ คือ เขตอําเภอนํ ายืน และเขตกิ งอําเภอนํ าขุ่น อําเภอทุ่งศรีอุดมเขตรอยต่อ
อําเภอเดชอุดม
2.3 ลักษณะภูมิอากาศ
จังหวัดอุบลราชธานี จัดอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Aw) ตามระบบการจําแนก
ภูมิอากาศของคอปเปน ปริมาณนํ าฝนเฉลี ยทั งปี 1,634 มิลลิเมตร ความชื นสัมพัทธ์สูงสุดประมาณ 83
เปอร์เซ็นต์ ในเดือนกันยายน สําหรับเดือนมีนาคม มีความชื นสัมพัทธ์ตํ าสุดประมาณ 61 เปอร์เซ็นต์
ความชื นสัมพัทธ์เฉลี ยทั งปี 73 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการระเหยของนํ าเฉลี ยรายปีมากกว่า 2,100 มิลลิเมตร
ตั งอยู่ในเขตที มีปริมาณนํ าฝนค่อนข้างสูง เมื อเทียบกับปริมาณนํ าฝนเฉลี ยของจังหวัดอื นๆ
2.3.1 ฤดูฝน เริ มตั งแต่เดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ระยะนี เป็นช่วงที ได้รับอิทธิพลจากลม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มีปริมาณนํ าฝนเฉลี ย 1,634 มิลลิเมตร เดือนที มีฝนตกหนักมากสุด คือเดือนสิงหาคม
และเดือนกันยายน ตามลําดับ เนื องจากได้รับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชั นที พัดเข้ามาในช่วงดังกล่าว