Page 34 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2553
P. 34
15
- ลํานํ.าเซบาย เป็นสาขาหนึ งของแม่นํ ามูล มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ไหลผ่าน
อําเภอตระการพืชผล อําเภอเขื องใน อําเภอม่วงสามสิบ และอําเภอเมืองอุบลราชธานี
- ลําโดมใหญ่ เป็นสาขาหนึ งของแม่นํ ามูล มีความยาวประมาณ 250 กิโลเมตร ต้นนํ า
อยู่ในท้องที อําเภอนํ ายืนไหลไปทางทิศเหนือผ่านอําเภอพิบูลมังสาหาร ไปบรรจบกับแม่นํ ามูลที อําเภอ
พิบูลมังสาหาร
- ลําโดมน้อย เป็นสาขาหนึ งของแม่นํ ามูล มีความยาวประมาณ 150 กิโลเมตร ต้นนํ าอยู่
ในอําเภอบุณฑริก ไหลผ่านบริเวณที เป็นภูเขา การพลังงานแห่งชาติได้ก่อสร้างเขื อนขนาดใหญ่เพื อเก็บกัก
นํ าไว้ในเขื อน คือ เขื อนลําโดมน้อยหรือเขื อนสิรินธรตั งอยู่ในเขตอําเภอพิบูลมังสาหาร ขนาดของเขื อนสูง
42 เมตร ยาว 950 เมตร สันเขื อนกว้าง 7.50 เมตร เก็บนํ าได้ 1,550 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื อนลําโดมน้อยหรือ
เขื อนสิรินธรนี นอกจากสร้างขึ นเพื อผลิตกระแสไฟฟ้ าแล้ว ยังสามารถส่งนํ าใช้ในการเพาะปลูกใน
ท้องที ลุ่มนํ าโดมน้อยได้ถึง 150,000 ไร่ นอกจากนี การพลังงานแห่งชาติยังมีโครงการสูบนํ าด้วยไฟฟ้ า เพื อ
ใช้ในการเพาะปลูกตามแนวลํานํ า ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ งรวมทั งในเขตจังหวัดอุบลราชธานีด้วย
2) แหล่งนํ.าใต้ดิน จังหวัดอุบลราชธานีมีแหล่งนํ าใต้ดินหรือนํ าบาดาลอยู่ทั วไปแต่มีปริมาณ
คุณภาพ และความตื นลึกแตกต่างกันไปตามสภาพธรณีวิทยาหรืออุทกวิทยา จากการศึกษาของกรม
ทรัพยากรธรณี พอสรุปสภาพนํ าบาดาลในจังหวัดอุบลราชธานีออกเป็น 5 เขต ดังนี
เขตที 1 แหล่งนํ าบาดาลบริเวณลํานํ ามูลในเขตอําเภอเมือง เป็นแหล่งนํ าบาดาลที เกิดใน
ดินร่วนหรือแอ่งสะสมกรวดทราย เกิดจากการพัดพาของกระแสนํ าในแม่นํ ามูลปริมาณนํ าส่วนใหญ่มี
คุณภาพดี
เขตที 2 แหล่งนํ าบาดาลบริเวณด้านตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดอุบลราชธานีใน
ท้องที อําเภอเมือง อําเภอม่วงสามสิบ และอําเภอเขื องใน เป็นแหล่งนํ าบาดาลในหินแข็งนํ าบาดาล ที ขุดเจาะ
ในบริเวณนี เป็นนํ าที มีคุณภาพดี แต่คุณภาพนํ าจะมีผลกระทบจากนํ าเค็ม
เขตที 3 แหล่งนํ าบาดาลที เป็นพื นที ส่วนใหญ่ของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ งคุณภาพนํ าจาก
แหล่งที ไม่เหมาะสมที จะพัฒนาเพื อการเกษตรนอกจากอุปโภคบริโภค
เขตที 4 แหล่งนํ าบาดาลที มีพื นที เป็นหย่อม ๆ ทางตอนกลางและทางด้านตะวันตกเฉียง
เหนือของจังหวัดอุบลราชธานี คุณภาพนํ าเค็มไม่เหมาะที จะพัฒนาการเกษตรนอกจากอุปโภคบริโภค
เขตที 5 พื นที บริเวณนี ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและมีหินปกคลุมอยู่ทั วไปจะไม่สามารถขุด
เจาะ หรือพัฒนาแหล่งนํ าได้
3) แหล่งนํ.าชลประทาน เนื องจากปริมาณนํ าต่าง ๆ ในจังหวัดอุบลราชธานีไม่เพียงพอกับ
ความต้องการของประชาชน ส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดแคลนนํ าสําหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคและ
การเกษตรในฤดูแล้ง การพัฒนาแหล่งนํ าในจังหวัดอุบลราชธานีจึงมีวัตถุประสงค์เพื อที จะหาทางแก้ปัญหา