Page 315 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 315

301



                         ดินบนลึกไมเกิน 20  ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือรวนปนทรายปนกอนกรวด สีพื้นเปนสี

                  เขมของสีน้ําตาลปนเทา หรือสีเขมมากของสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-7.0)
                  สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายปนกอนกรวดมาก สีพื้นเปนสีน้ําตาล  สีน้ําตาลเขม หรือสีเขมของ

                  น้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัด(pH 5.5-6.0) กอนกรวดที่พบจะมีตั้งแตหนาดิน

                  บนจนถึงชั้นลางๆ ตลอดชั้นหนาตัดดินตั้งแต 0.5-10  ซม. เปนหินพวกควอรตไซต ลักษณะกลมมน มีขนาด

                  และปริมาณมากขึ้นตามความลึก (30-50 เปอรเซ็นต โดยปริมาตร) และพบแรไมกาตลอดชั้นของดิน

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ
                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 37.5


                  ตารางที่ 37.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                             CEC         BS          OM        Avai.P   Exch.K   ระดับความ
                       ชุดดิน       pH
                                            cmol /kg       (%)     (%)     (mg/kg)    (mg/kg)    อุดมสมบูรณ
                                                c
                   นาคู              -       0.80       80.40      0.52      1.40      18.00         ต่ํา
                   บอไทย            -       3.37       55.00      0.76     15.50      34.33         ต่ํา

                   ทับเสลา           -       4.00       29.00      2.24      5.90      87.00         ต่ํา
                   คามัธยฐาน        -       3.37       55.00      0.76      5.90      34.33         ต่ํา


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินบอไทย นาคู และทับเสลา ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 37

                  พบวามีความอุดมสมบูรณต่ําทั้งสิ้น


                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช

                         กลุมชุดดินที่ 37  มีศักยภาพคอนขางไมเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน  และพืชผัก

                  เนื่องจากดินคอนขางเปนทรายจัดและมีความอุดมสมบูรณต่ํา  นอกจากนี้ยังไมเหมาะสมในการทํานา
                  เนื่องจากดินเก็บกักน้ําไมได  แตสามารถใชประโยชนในการปลูกไมโตเร็วและพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว

                  อยางไรก็ตามเพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกในการใชที่ดินใหเหมาะสมกับศักยภาพของดิน จึงจัดชั้นความ

                  เหมาะสมออกเปน 3  อยาง คือ สําหรับการเพาะปลูกในฤดูฝน ฤดูแลง  และหลังการพัฒนาที่ดินแลว ดัง

                  ตารางที่ 37.6
   310   311   312   313   314   315   316   317   318   319   320