Page 318 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 318

304



                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                          5.1 สมบัติทางกายภาพของดินไมเหมาะสม   เนื่องจากเนื้อดินบนคอนขางเปนทรายจัด ทําให

                  ความสามารถในการอุมน้ําต่ํา ดินจึงแหงเร็วในระยะที่ฝนทิ้งชวง และดินจะแหงมากในฤดูแลง

                          5.2 ความอุดมสมบูรณต่ํา  รวมทั้งดินมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารพืชไดนอยนอกจากนั้น

                  ธาตุอาหารยังถูกน้ําชะลางออกไปไดงายอีกดวย


                          5.3 การชะลางพังทลายของดิน  โดยเฉพาะในพื้นที่ลาดเชิงเขาหรือบริเวณที่มีความลาดเทสูงกวา

                  5 เปอรเซ็นต จะมีการชะลางพังทลายของดินมากในฤดูฝน

                          5.4 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  เนื่องจากบริเวณพื้นที่ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 37  ไมมีระบบ

                  ชลประทานเขาถึง การเพาะปลูกตองอาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียว ดังนั้นในฤดูแลงจึงไมสามารถเพาะปลูก

                  พืชไดเพราะขาดแคลนน้ํา

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช


                          6.1 การปรับปรุงสมบัติดานกายภาพ โดย 1) ใชปุยอินทรีย  ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา
                  ประมาณ 2 ตันตอไร หรือ 2) ทําปุยพืชสดโดยปลูกพืชตระกูลถั่วกอนปลูกพืชหลัก 2 เดือน แลวไถกลบเพื่อ

                  บํารุงดิน เมื่อพืชปุยสดนั้นออกดอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต การปฏิบัติดังกลาวเปนประจําทุกปจะชวยเพิ่ม

                  อินทรียวัตถุใหแกดิน ทําใหอนุภาคดินเกาะตัวกันเปนเม็ดดินและกอนดินมากขึ้น มีสัดสวนของชองขนาด
                  เล็กและใหญในโครงสรางดินที่เหมาะสม ความชื้นที่เปนประโยชนในดินจึงสูงขึ้น


                          6.2 การอนุรักษดินและน้ํา  มีความจําเปนสําหรับดินกลุมนี้มาก โดยเฉพาะในบริเวณที่มีความลาด

                  เทสูงกวา 5เปอรเซ็นต ซึ่งเกิดการชะลางพังทลายของดินไดงาย ดังนั้นจึงตองใชมาตรการอนุรักษดินและน้ํา

                  ในพื้นที่เพาะปลูกอยางเหมาะสม ไดแก
                         6.2.1  ใชวัสดุคลุมดิน  เชน ฟางขาวหรือเศษพืช ตางๆ เพื่อปองกันไมใหเม็ดฝนกระแทกผิวดิน

                  โดยตรง และชวยรักษาความชื้นโดยลดการระเหยน้ําจากผิวดินในฤดูแลง นอกจากนี้เมื่อวัสดุคลุมดิน

                  สลายตัวยังเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดินดวย

                         6.2.2 ปลูกพืชคลุมดิน เชน ปลูกพืชตระกูลถั่วหรือหญาคลุมดิน ในสวนไมผลหรือไมยืนตน จะชวย

                  ปองกันการสูญเสียหนาดินจากการชะลางพังทลายไดเปนอยางดี
                         6.2.3  สรางสิ่งกีดขวางทิศทางการไหลของน้ําบนผิวดินเมื่อฝนตกหนัก เชน ทําคันดิน  คันเบนน้ํา

                  รองระบายน้ํา  บอดักตะกอนหรือบอน้ําประจําไรนา อันเปนมาตรการเชิงกล หรือใชวิธีทางพืช เชน ปลูกพืช

                  เปนแถบขวางความลาดเทของพื้นที่ หากใชทั้งสองวิธีนี้รวมกันใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ จะชวยลด

                  อัตราเร็วการไหลบาของน้ําผิวดิน และปองกันการชะลางพังทลายของดินไดอยางมีประสิทธิภาพ
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323