Page 310 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 310

296



                  เปน 4 ระยะ คือ 1) ระยะบํารุงตนหลังเก็บเกี่ยวใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน ปุยในระยะนี้ควรใหซ้ํา

                  เมื่อมะมวงแตกใบออนชุดที่ 2 แลว 2) ระยะเรงสรางตาดอก ใชปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน สําหรับ
                  มะมวงอายุ 2-4 ป, 2 กก./ตน สําหรับมะมวงอายุ 5-7 ป และ 5 กก./ตน สําหรับมะมวงอายุ 8 ปขึ้นไป

                  ตามลําดับ 3) ระยะบํารุงผล ใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และ 4) ระยะปรับปรุงคุณภาพผลผลิตใช

                  ปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 กก./ตน รวมดวยการพนปุยทางใบในอัตราตามที่ฉลากระบุไว


                         9.3.3 มะละกอ  มะละกอในระยะตนกลาใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 10 กรัม/ตน รองกนหลุมกอน
                  ปลูก และบํารุงตนดวยปุยแอมโมเนียมซัลเฟต(21-0-0) อัตรา 60 กรัม/ตน หรือปุยยูเรีย(46-0-0) อัตรา 30

                  กรัม/ตน จนกระทั่งมะละกออายุไดประมาณ 1 ป ใหเพิ่มอัตราปุยแอมโมเนียมซัลเฟตเปน 225 กรัม/ตน โดย

                  ใหปุยทุกๆ 3 เดือน และบํารุงตนดวยปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 450 กรัม/ตน โดยใหปุยในชวงตนฤดูฝน

                  10. สรุป

                         กลุมชุดดินที่ 36 ประกอบดวยชุดดิน เพชรบูรณ ปราณบุรี สีคิ้ว และศรีราชา พบบริเวณตะพักลําน้ํา

                  ระดับกลางถึงสูง  และพื้นที่ซึ่งเหลือคางจากการกรอน  มีสภาพเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงที่ลาดเชิงเขา  ความ

                  ลาดเทอยูระหวาง 2-12 เปอรเซ็นต ใชประโยชนในการปลูกพืชไรและไมผลเปนสวนใหญ
                         ลักษณะดินเปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลเขม

                  หรือสีน้ําตาลเขมปนเทา  หรือน้ําตาลแดง  สวนดินชั้นลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนเหนียว  สี

                  น้ําตาล สีแดงปนเหลือง หรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง คาพีเอช 5.0-7.0 ความอุดมสมบูรณอยูใน

                  ระดับปานกลาง
                         ศักยภาพของกลุมชุดดินที่ 36 เหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิดทั้งพืชไร ไมผล หรือไมยืนตน และ

                  ผักบางชนิด ไมเหมาะสมกับการทํานา เนื่องจากสภาพพื้นที่ไมอํานวย

                         ปญหาในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดินคอนขางรุนแรง ความอุดมสมบูรณ

                  ปานกลางเนื่องจากขาดธาตุอาหารบางธาตุ และขาดแคลนน้ําสําหรับการปลูกพืชในฤดูแลงและในฤดูฝนที่
                  ฝนทิ้งชวง

                         การจัดการดินควรเนนการอนุรักษ ดินและน้ํา โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นต

                  ขึ้นไป  โดยใชทั้งมาตรการเชิงกลและวิธีทางพืชรวมกัน  การพัฒนาแหลงน้ํามีความจําเปนมาก  เนื่องจาก

                  ระบบชลประทานยังเขาไมถึง นอกจากนี้ยังตองปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน โดยการปลูกพืชบํารุงดิน

                  และใชปุยอินทรีย แลวเสริมดวยปุยเคมีตามความจําเปน
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315