Page 312 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 312

298



                          1.2 วัตถุตนกําเนิดดิน : เกิดจากตะกอนน้ําที่พัดมาทับถมกันเปนเวลานาน(old alluvium) และวัตถุ

                  ที่เคลื่อนยายลงมาถมตามที่ลาดเชิงเขา(colluvium)

                          1.3 ภูมิสัณฐาน : ตะพักลําน้ําระดับกลาง ที่เหลือคางจากการกรอนและที่ลาดเชิงเขา


                          1.4 สภาพพื้นที่และความลาดเท : ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน คาความลาดเทอยูระหวาง

                  2-16 เปอรเซ็นต

                          1.5 การระบายน้ําของดิน : ดีปานกลางถึงดี


                          1.6 พืชพรรณและการใชประโยชน : ปลูกพืชไร และยังคงสภาพเปนปาเต็งรัง  สําหรับพื้นที่
                  โครงการชลประทานในแตละจังหวัด ซึ่งพบกลุมชุดดินที่ 37 แสดงไวในตารางที่ 37.2


                  ตารางที่ 37.2 พื้นที่โครงการชลประทาน และความจุของอางเก็บน้ําในจังหวัดที่พบกลุมชุดดินที่ 37

                                                          พื้นที่ชลประทาน   ความจุ   โครงการขนาด   โครงการ
                         ภาค         เขต     จังหวัด
                                                                                3
                                                               (ไร)      (ลาน ม. )  ใหญและกลาง   ขนาดเล็ก
                   กลาง               1      ชัยนาท          900,567          0          7            5

                                             สุพรรณบุรี     1,288,470      294.9         8            4
                   ตะวันออก           2      ระยอง           120,800       240.7        10            1
                   ตะวันออกเฉียงเหนือ  5     มหาสารคาม       91,780         75.4        19            5

                   เหนือ              8      พิจิตร          511,100          0         14            5
                                             เพชรบูรณ       62,620         58.2         8            5

                                      9      สุโขทัย          4,800           0          0            5
                                             อุทัยธานี       170,500       160.6         8            5

                   ตะวันตก            10     เพชรบุรี        711,385       735.9        21            3
                                 รวมทั้งสิ้น                3,862,022    1,565.7        95           38


                          1.7 การชะลางพังทลายของหนาดิน : ระดับปานกลาง


                          1.8 ปริมาณเศษหินกรวดที่ผิวดิน : ไมมี ถึงมีเล็กนอย

                          1.9 การแพรกระจาย : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก ซึ่งจังหวัดที่พบ

                  แสดงไวในตารางที่ 37.3

                  ตารางที่ 37.3 การแพรกระจายของกลุมชุดดินที่ 37 ในจังหวัดตางๆ


                           ภาค           เขตพัฒนาที่ดิน            จังหวัด                   เนื้อที่ (ไร)


                   กลาง                        1                   ชัยนาท                    17,574.33

                                                                   สุพรรณบุรี                12,896.29
   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316   317