Page 61 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 61

51   ชุดดินวัฒนา (Watthana series: Wa)





                                 กลุมชุดดินที่    1
                                 การจําแนกดิน      Fine, smectitic, isohyperthermic Ustic Endoaquerts

                                 การกําเนิด        เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขา
                                 สภาพพื้นที่       ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %

                                 การระบายน้ํา                    คอนขางเลว
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา            ชา

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ขาว และปลูกพืชไรหรือพืชผักกอนและหลังฤดูฝน
                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Apg-Bssg-Ck

                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง  สี
                                 ดําหรือสีเทาเขมมาก  มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปน

                                 ดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทาหรือสีเทาเขม มี
                                 จุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)

                                 และจะพบรอยถูไถเปนมัน  ในฤดูแลงหรือฝนทิ้งชวงนานๆ  ดินจะแหงและแข็งแตกระแหงเปนรองลึก
               ดินลางลึกๆ จะพบชั้นกอนปูนทุติยภูมิสะสมหนาแนน


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง           สูง            สูง

                  25-50         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินพิมาย  ชุดดินบานหมี่  และชุดดินบุรีรัมย

               ขอจํากัดการใชประโยชน       เนื้อดินเหนียวจัด ยากตอการไถพรวน และแตกระแหง ทําใหรากพืชเสียหาย
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ  และเพิ่มผลผลิตพืชใหสูงขึ้นโดย

               ใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีอัตราต่ํา   ไถพรวนในขณะที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ  ไมแหงและเปยกเกินไป  จัดหาแหลงน้ํา
               สํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและ ทําลายระบบรากของพืช ถาพื้นที่เพียงพอ















                                                                                                              53
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66