Page 66 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 66

5. สรุป



                         ชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทยที่ไดมีการศึกษาลักษณะและสมบัติตางๆ

                  ของดิน จํานวน 55 ชุดดิน จําแนกตามระบบอนุกรมวิธานดินออกเปน 7 อันดับ 11 อันดับยอย 17 กลุม

                  ใหญ 36 กลุมยอย 53 วงศ สําหรับชุดดินทั้ง 55 ชุดดินนี้จําแนกเปนกลุมชุดดินโดยพิจารณาจากระดับ
                  ความอุดมสมบูรณ ปญหาและขอจํากัด และแนวทางในการจัดการดินที่คลายคลึงกันนั้น ออกไดเปน 26

                  กลุมชุดดิน โดยจําแนกเปนกลุมดินนา 10 กลุม (กลุมชุดดินที่ 1  4  5  6  7  15  16  17  19  และ 22)

                  และกลุมดินดอน 16 กลุม (กลุมชุดดินที่ 28  29  30  31  33  35  37  38  40  46  47  48  52  54  55

                  และ 56)

                         ดินนาในภาคเหนือบริเวณที่ราบลุมสวนใหญมีความอุดมสมบูรณระดับปานกลาง  การเพิ่มผลผลิต

                  ใหสูงขึ้น ควรใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราเหมาะสม ซึ่งจะชวยลดตนทุนและเปนการ

                  ปรับปรุงบํารุงดินดวย  สวนบริเวณที่ราบระหวางเขาหรือตะพักลําน้ําเกา  ดินจะมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ํา  มี

                  ความอุดมสมบูรณต่ํา และดินคอนขางเปนกรด ควรปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ ใชวัสดุปูนชวยลดความ
                  เปนกรดของดิน  และเพิ่มความสามารถในการใหผลผลิต  โดยใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมี

                  ในอัตราเหมาะสม        สวนดินนาบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศหรือพื้นที่ลุมน้ําปาสักมีความอุดม

                  สมบูรณปานกลางถึงสูง จะมีปญหาเกี่ยวกับน้ําทวมบาสูงในฤดูฝนทําใหขาวเสียหาย และในชวงที่ฝนทิ้ง

                  ชวงขาวจะขาดน้ําไดงายเนื่องจากดินสวนใหญจะเหนียวจัด  และมักแตกระแหง  ทําใหรากขาวเสียหาย

                  ควรหาทางปองกันปญหาน้ําทวมบา รวมถึงการพัฒนาระบบชลประทาน การเพิ่มอินทรียวัตถุแกดินจะชวย
                  ปรับสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น และควรไถพรวนในชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ


                         สําหรับดินดอนบริเวณสันดินริมน้ํามีความอุดมสมบูรณปานกลาง  แตการไถพรวนบอยครั้งและ
                  ใชเพาะปลูกเปนเวลานานจะทําใหเกิดชั้นดานใตชั้นไถพรวน  ควรไถพรวนใหลึกเพื่อทําลายชั้นดานและ

                  ไถกลบเศษพืชรวมถึงการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อชวยใหสมบัติทางกายภาพดีขึ้น  สวนดินดอนบริเวณที่ลาด

                  ชันหรือภูเขาทางภาคเหนือจะมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ดินตื้นและสภาพพื้นที่ลาดชันสูง  บริเวณตนน้ําลํา

                  ธารควรฟนฟูสภาพปา  สวนบริเวณดินลึกควรมีระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม  โดยใชระบบพืชและ

                  ระบบกลรวมกันโดยเฉพาะอยางยิ่งควรใชแนวหญาแฝกรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการ
                  ใชประโยชน


                         ดินดอนบริเวณลุมน้ําปาสักตอนบนมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา   ควรมีการ

                  ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ สวนบริเวณลุมน้ําปาสักตอนลางมีความอุดมสมบูรณสูง แตมักมีปูน

                  ในดินลางซึ่งทําใหฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางอยางอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืช  สําหรับพื้นที่ลาดชัน
                  ควรมีระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมเชนกัน




                                                                                                       58
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71