Page 60 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 60

50   ชุดดินอุตรดิตถ (Uttaradit series: Utt)





                                 กลุมชุดดินที่    7
                                 การจําแนกดิน      Fine, mixed, semiactive, isohyperthermic Aquic Haplustalfs

                                 การกําเนิด        เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ํา
                                 สภาพพื้นที่       ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 1-3 %

                                 การระบายน้ํา                    ดีปานกลางถึงคอนขางเลว
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา            ปานกลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน        พื้นที่สวนใหญดัดแปลงมาใชทํานา ทําให
                                                   มีน้ําแชขังในฤดูฝน และปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ออย ยาสูบ ถั่วตางๆ พืชผัก

                                                   กอนและหลังฤดูทํานา

                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณภาคเหนือโดยเฉพาะลําน้ํานาน
                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Ap(Apg)-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียว
                                 ปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม หรือสีน้ําตาลปนเทาเขม  มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีแดงปน

                                 เหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือ
               ดินเหนียว  สีน้ําตาลปนแดง  มีจุดประสีน้ําตาลแกและสีแดงปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง

               (pH 6.5-8.0)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           สูง            ต่ํา        ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา        ปานกลาง          สูง            ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินตะพานหิน

               ขอจํากัดการใชประโยชน         ดินที่ใชเพาะปลูกมานาน  ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ  รากชอนไชไดยาก  พื้นที่
               ที่ดัดแปลงทํานา  จะมีน้ําแชขังในฤดูฝน  ไมเหมาะที่จะใชปลูกพืชไรหรือไมผล  พื้นที่ที่ไมไดดัดแปลงทํานา  ดินลางมีการ

               ระบายน้ําคอนขางเลว  ทําใหรากพืชอาจแชขังน้ําเปนเวลานานในชวงฤดูฝน
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ  ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดย

               เพิ่มอินทรียวัตถุ  และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น   หากปลูกไมผลหรือพืชไรตองยกรองใหสูงขึ้น

               และระบายน้ําออกใหอยูในระดับที่ ไมกระทบตอการเจริญเติบโตของราก






                                                                                                              52
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65