Page 63 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 63

53   ชุดดินวังชมพู (Wang Chomphu series: Wc)





                                  กลุมชุดดินที่   28
                                  การจําแนกดิน     Very-fine, smectitic, isohyperthermic Chromic Haplusterts

                                  การกําเนิด       เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด
                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %

                                  การระบายน้ํา                   ดีปานกลาง
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ชา

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง
                                                   ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง มะขาม

                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bss-Ck
                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินลึก  ดินบนเปนดินเหนียว  สีน้ําตาลปนเทาเขมมาก  ปฏิกิริยา

                                  ดินเปนกรดจัดถึงเปนดางปานกลาง (pH 5.5-8.0)  ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว   สีน้ําตาลปน
                                  เหลืองหรือสีน้ําตาลปนสีมะกอก  มีจุดประสีเทาปนน้ําตาลออน   ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดาง

                                  ปานกลาง (pH 7.0-8.0) และพบรอยถูไถเปนมัน  เนื่องจากการยืดและหดตัวของดิน เมื่อดินเปยก
               และแหงสลับกัน  ดินลางตอนลางเปนดินเหนียวสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนสีมะกอก  มีจุดประสีเทาปนน้ําตาลออน

               มีกอนปูนทุติยภูมิปะปนในดิน ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินชัยบาดาล  และชุดดินลํานารายณ
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินเหนียวจัดและแนนทึบ  ไถพรวนลําบาก เมื่อดินแหง ดินอาจแตกระแหงทําใหราก

               พืชเสียหายได
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงดินใหรวนซุยโดยใชอินทรียวัตถุ  การปลูกพืชที่มีระบบรากลึก  เชน  ไมผล

               จําเปนตองปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินลางในเบื้องตน  โดยการใชอินทรียวัตถุผสมคลุกเคลา  ใชปุยเคมี

               โดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา และใหจุลธาตุเพิ่มเติมสําหรับพืชบางชนิดเมื่อพืชเริ่มแสดงอาการขาด









                                                                                                              55
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68