Page 65 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 65

55   ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung series: Ws)





                                    กลุมชุดดินที่  55
                                    การจําแนกดิน  Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs

                                    การกําเนิด     เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชน
                                                   หินดินดาน หินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณพื้นที่

                                                   ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ
                                                   โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                    สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %

                                    การระบายน้ํา                ดี
                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชาถึงเร็ว

                                    การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด  ขาว
                                                   ไร ถั่วตางๆ และสวนผลไม เชน มะมวง มะขาม ลําไย

                                    การแพรกระจาย         ภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ
                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bt-Cr

                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกปานกลาง  ดินบนเปนดินรวน  ดินรวนปนดินเหนียวหรือ
               ดินรวนเหนียวปนทรายแปง  สีน้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปนเทาเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)

               ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว  สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)  ดินลาง

               ตอนลางเปนดินเหนียวมีเศษหินปะปนหนาแนน  และสวนใหญพบชั้นหินพื้นภายใน 100 ซม. จากผิวดิน  สีน้ําตาลปนแดง
               หรือสีน้ําตาลปนเหลือง  มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง  สีแดง  และสีน้ําตาล   ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย

               (pH 4.5-6.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง       ปานกลาง           ต่ํา           ต่ํา           สูง        ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา       ปานกลาง           ต่ํา           ต่ํา           สูง        ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา          สูง         ปานกลาง           ต่ํา           สูง        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินวังไห

               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนดินลึกปานกลาง     รากของพืชที่มีระบบรากลึกอาจถูกจํากัดการเจริญเติบโต
               สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง  ดินเกิดการชะลางพังทลายไดงาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงบํารุงดินและใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ  รวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตให

               สูงขึ้น จัดระบบการปลูกพืชและระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสมกับสภาพความ ลาดชันของพื้นที่



                                                                                                              57
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70