Page 34 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 34
24 ชุดดินแมริม (Mae Rim series: Mr)
กลุมชุดดินที่ 48
การจําแนกดิน Loamy-skeletal, mixed, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults
การกําเนิด ตะกอนน้ําพา สวนใหญเปนพวกกรวดและหินมนเล็กบริเวณเนินตะกอน
รูปพัด หรือตะพักลําน้ํา
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใช
เปนวัสดุทําถนน
การแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกอนกรวดและหินมนเล็กหนาแนนตั้งแต
ภายใน 50 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน อาจมีกรวดและ
หินมนเล็กปะปน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรด
เล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทราย มีกรวดและหินมนเล็กปะปนอยูหนาแนน
มาก มากกวา 35 % โดยปริมาตร ดินลางลึกๆ อาจเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองถึงสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
มากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินน้ําชุน
ขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดและหินมนเล็ก ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง
ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงาย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไร
ได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดิน
และเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟู
สภาพปา
26