Page 55 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 55

5.สรุป

                          ชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่ไดมีการศึกษาลักษณะและสมบัติตางๆ  ของ

                   ดิน จํานวน 44 ชุดดิน จําแนกตามระบบอนุกรมวิธานดินออกเปน 7 อันดับ 10 อันดับยอย 20 กลุมใหญ 35

                   กลุมยอย 43  วงศ  สําหรับชุดดินทั้ง 44  ชุดดิน  นี้จําแนกเปนกลุมชุดดินโดยพิจารณาจากระดับความอุดม

                   สมบูรณ ปญหาและขอจํากัดและแนวทางในการจัดการดินที่คลายคลึงกันนั้น แบงออกเปน 21 กลุมชุดดิน
                   โดยจําแนกเปนกลุมดินนา 9 กลุม (กลุมชุดดดินที่ 1 4 6 7 17 20 22 24 และ 25) และกลุมดินดอน 12

                   กลุม (กลุมชุดดินที่ 29 31 33 35 36 38 40 41 44 46 49 และ 55)


                          ที่ราบตะกอนน้ําพา พบอยูเปนบริเวณแคบๆ ระหวางแมน้ําโขง แมน้ําชี และแมน้ํามูล ความอุดม
                   สมบูรณของดินบริเวณนี้จะมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา  เนื้อดินเปนดินรวนปนทรายแปง

                   จนถึงดินเหนียว        การเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้นควรใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราที่

                   เหมาะสม ซึ่งชวยลดตนทุนและเปนการปรับปรุงบํารุงดินดวย สําหรับบริเวณที่ราบระหวางที่ราบตะกอนน้ํา

                   พากับพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดินหรือพื้นที่เกือบราบ (denudation surface or peneplain) ลักษณะดิน

                   ที่พบสวนใหญ  เนื้อดินคอนขางเปนทราย  เปนดินลึกมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ดินคอนขางเปนกรด  ควร
                   ปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ วัสดุปูนชวยลดความเปนกรดของดินและเพิ่มความสามารถในการผลิต โดยใช

                   ปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราเหมาะสม   สําหรับดินในบริเวณพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                   แผนดินหรือพื้นที่เกือบราบสวนใหญถูกนํามาใชในการทํานา  ซึ่งเปนนาดอนและบางสวนใชในการปลูกพืช

                   ไร เชน ออย มันสําปะหลังและขาวโพด เปนตน ดังนั้น ชวงที่ฝนทิ้งชวงพืชจะขาดน้ําไดงายและมักพบชั้นที่มี
                   ความไมตอเนื่องทางธรณี (lithologic discontinuity)  ตั้งแต 50  เซนติเมตรจากผิวดินลงไป  ทําใหพบชั้น

                   กรวดลูกรัง  บางบาง  หนาบาง  ลึกบาง  ตื้นบาง  ในบางพื้นที่  ความอุดมสมบูรณของดินสวนใหญต่ํา  บาง

                   บริเวณมีปูนในดินลางซี่งทําใหฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางอยางอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืช การจัดการ

                   ดินที่ดีรวมถึงการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อชวยใหสมบัติทางกายภาพดีขื้นและการใหปุยเคมีอยางถูกวิธี  จะชวย
                   เพิ่มผลผลิตของพืชที่ปลูกในบริเวณนี้


                          บริเวณที่เปนภูเขาสวนใหญจะเปนภูเขาที่เกิดจากหินทราย  ซึ่งมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ยกเวน

                   บริเวณดานทิศใต พบมีภูเขาที่เกิดจากหินบะซอลต แทรกอยูสําหรับดานทิศตะวันตก จะพบหินอัคนี หินปูน

                   หินดินดานและหินฟลไลตอยูตามริมๆ ขอบของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้น ในบริเวณที่เปนดินตื้นและ
                   สภาพพื้นที่ลาดชันสูง บริเวณตนน้ําลําธาร ควรฟนฟูสภาพปา สวนบริเวณดินลึกควรมีระบบอนุรักษดินและ

                   น้ําที่เหมาะสม โดยใชระบบพืชและระบบกลรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ควรใชแนวหญาแฝกรูปแบบตางๆ

                   ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่




                                                                                                           47
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60