Page 30 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 30

20   ชุดดินโคกกระเทียม Khok Krathiam Series: Kk)



                                   กลุมชุดดินที่      1

                                   การจําแนกดิน        Very-fine, smectitic, isohyperthermic Ustic Endoaquerts
                                   การกําเนิด              เกิดจากตะกอนที่มีแรดินเหนียวพวกมอนตโมริลโลไนตมากถูกน้ําพัด

                                                                       พามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําคอนขางใหมหรือที่ราบน้ําทวมถึง
                                   สภาพพื้นที่         ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %

                                   การระบายน้ํา                 เลว

                                   การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา
                                   การซึมผานไดของน้ํา         ชา

                                   พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ทํานาหวาน

                                   การแพรกระจาย                พบมากบริเวณตอนเหนือของที่ราบลุมภาคกลางใกลภูเขา
                                                                             หินปูน

                                   การจัดเรียงชั้นดิน           Apg-Bssg-BCg
                                   ลักษณะและสมบัติของดิน        เปนดินลึก  เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอด  ดินบนเปนดิน

                                   เหนียวสีดําหรือสีเทาเขม  จุดประสีน้ําตาลเขม  และสีแดงปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินกรดจัดถึงกรด
                                   เล็กนอย (pH 5.5-6.5)  ดินบนตอนลางเปนดินเหนียวสีเทาหรือสีเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลแก

               และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางออน (pH 7.0-8.0) ในดินลางลึกลงไป หนาดินจะแตกระแหงในฤดูแลง

               จะพบรอยไถล  กอนเหล็กและแมงกานีสสะสมและกอนหินปูนสะสมในดินลางลึกมาก 80  ซม.  ดินลางตอนลาง  เปนดิน
               เหนียว สีน้ําตาลปนเขียวมะกอกและพบจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง สีเหลืองปนเขียวมะกอก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดาง

               ออน (pH 7.0-8.0)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25      ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง          สูง           สูง
                 25-50        ต่ํา          สูง            สูง         ปานกลาง          สูง         ปานกลาง

                50-100        ต่ํา          สูง            สูง         ปานกลาง          สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินสิงหบุรี  ชุดดินบานหมี่  และชุดดินชองแค
               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนที่ราบลุมต่ํา มีน้ําทวมขังลึกมากกวา 1 เมตร นาน 5-6 เดือนในชวงฤดูฝน

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  พื้นที่บริเวณนี้สวนใหญมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติคอนขางสูง  ถาสามารถ
               จัดการควบคุมระดับน้ําที่มีน้ําทวมแชขังใหพอเหมาะสําหรับปลูกขาวนาดําได  จะชวยเพิ่มผลผลิตของขาวใหเพิ่มขึ้นได








                                                                                                            22
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35