Page 28 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 28

18   ชุดดินหุบกระพง (Hup Krapong Series: Hg)



                                 กลุมชุดดินที่ 40

                                 การจําแนกดิน  Coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Typic Haplustalfs
                                 การกําเนิด     เกิดจากตะกอนลําน้ําพา และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ

                                                           โดยแรงโนมถวงของโลกของหิน หินไมกาไนส  หินไมกาชีสต  หรือหินแกรนิต
                                                           ทับถมอยูบนเนินตะกอนรูปพัดติดตอกัน

                                 สภาพพื้นที่    ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีคามลาดชัน 1-5 %

                                 การระบายน้ํา                 ดี
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว

                                 การซึมผานไดของน้ํา         เร็ว
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน   ปลูกพืชไร เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง

                                                     บางแหงปลูกไมผล

                                 การแพรกระจาย                ดานตะวันตกของที่ราบลุมภาคกลาง
                                 การจัดเรียงชั้นดิน           Ap-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติของดิน        เปนดินลึก   เปนดินรวนปนทรายตลอดและอนุภาคทรายมี
                                 ขนาดหยาบขึ้นตามความลึก  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH  6.0-7.0)  ดินบน

               เปนดินรวนปนทรายมีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา  ดินบนตอนลางเปนดินรวนปนทรายมีสีน้ําตาลปนเหลือง  หรือสี

               น้ําตาลแก  ดินลางตอนลางเนื้อดินเปนรวนปนทรายหยาบ  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง (pH 6.0-8.0)
               ในดินลางลึกลงไปอาจพบจุดประสีในดินชั้นนี้  พบเกล็ดแรไมกาตลอดหนาตัดของดิน


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25         ต่ํา          ต่ํา           สูง           ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           สูง           ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง
                50-100        ต่ํา          ต่ํา           สูง           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินทุงหวา  ชุดดินสัตหีบ  ชุดดินชลบุรี  และชุดดินมาบบอน

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินเปนทรายจัด  มีความสามารถในการอุมน้ําต่ํา  เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําในชวง
               ฤดูเพาะปลูก

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปลูกพืชไร  ควรเลือกปลูกพืชที่ทนแลงไดดี  ควรมีการปรับปรุงบํารุงรักษาดินโดย
               การใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก และปุยพืชสด เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของดินทั้งทางกายภาพและเคมีใหดีขึ้นและ

               ควรใสปุยเคมีควบคูไปดวย เพื่อชวยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารใหแกดิน ทําใหดินมีความอุดมสมบูรณดีขึ้น






                                                                                                            20
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33