Page 25 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 25

15   ชุดดินดอนเมือง (Don Mueang Series: Dm)



                                  กลุมชุดดินที่   11

                                  การจําแนกดิน  Fine-loamy, mixed, semiactive, acid, isohyperthermic Sulfic
                                                   Endoaquepts

                                  การกําเนิด       เกิดจากตะกอนน้ําทะเลและน้ํากรอยพัดพามาทับถมอยูบนที่ราบน้ําทะเล
                                                   ทวมถึงในอดีต

                                  สภาพพื้นที่      ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %

                                  การระบายน้ํา                   เลว
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชา

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ทํานาหวาน หรือยกรองปลูกผักและไมผล

                                  การแพรกระจาย             พบอยูทั่วไปในที่ราบภาคกลางตอนใต  ในเขตจังหวัดนนทบุรี

                                                   ปทุมธานี  ฉะเชิงเทรา  สมุทรปราการ  สมุทรสาคร  และกรุงเทพมหานคร
                                  การจัดเรียงชั้นดิน        Apg-Bg-Bjg-BCg-Cg

                                  ลักษณะและสมบัติของดิน  เปนดินลึก  ดินบนเปนดินรวนเหนียวปนทราย  ดินรวนหรือ
               ดินรวนปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินบนตอนลางเปน

               ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาล มีจุดประสีน้ําตาลแกและสีแดงปน

               เหลืองตลอด  ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัด (pH 4.0-5.0)  ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว  สีเทาปนชมพู  มี
               จุดประสีแดงและสีเหลืองฟางขาวในดินลาง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงดางปานกลาง (pH 6.0-8.0) จะพบชั้นดิน

               เลนสีเทาปนเขียวมะกอกภายในความลึก 150 ซม.

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25      ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 25-50        ต่ํา        ปานกลาง       ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                50-100        ต่ํา          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินพานทอง  ชุดดินรังสิต  ชุดดินดินบางเขน  และชุดดินฉะเชิงเทรา
               ขอจํากัดการใชประโยชน       มีน้ําทวมขังลึกถึง 50 ซม. นาน 3-4 เดือน ดินเปนกรดจัดมาก ธาตุอาหารบางชนิด

               เชน ฟอสเฟตจะถูกดินตรึงไวพืชดูดเอาไปใชไมได ผลผลิตพืชที่ไดมักจะต่ํา
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ทํานา  ตองแกสภาพกรดของดินใหลดลง โดยการนําปูนมารลมาผสมคลุกเคลากับ

               ดินกอนจะใชปลูกพืช พรอมทั้งใสปุยอินทรียพวก ปุยคอก ปุยหมัก ควบคูกับปุยเคมี เพื่อปรับปรุงบํารุงดินใหมีคุณสมบัติดี

               ขึ้นทั้งทางกายภาพและทางเคมีเพื่อใหดินมีความอุดมสมบูรณดีขึ้น



                                                                                                            17
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30