Page 27 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 27

17    ชุดดินดงตะเคียน (Dong Takhian Series: Dt)



               กลุมชุดดินที่     43

               การจําแนกดิน       Coated, isohyperthermic Lamellic Ustic Quartzipsamments
               การกําเนิด         เกิดจากตะกอนลําน้ําพามาทับถมอยูบนตะพักลําน้ําเกา ระดับสูง และ/หรือถูกเคลื่อนยายมา

                                  เปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงของโลกของหินแกรนิต
               สภาพพื้นที่        ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย  มีความลาดชัน 2-4 %

               การระบายน้ํา                คอนขางมาก

               การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชาถึงปานกลาง
               การซึมผานไดของน้ํา        เร็ว

               พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ปาเบญจพรรณ ทําไรเลื่อนลอย ปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง
                                  ขาวโพด

               การแพรกระจาย               บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต

               การจัดเรียงชั้นดิน          A-E-C
               ลักษณะและสมบัติของดิน       เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน  สีเทาหรือสี

               น้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5) ดินบนตอนลางเปนดินทราย ดินรวน หรือดิน
               ทราย  สีขาวปนชมพู  ขาว  เทาออน  หรือเทาปนชมพู  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย (pH 5.5-6..5)  ดินลาง

               ตอนลางเปนทรายที่มีการสะสมอินทรียวัตถุเปนชั้นบางๆ สีน้ําตาลหรือน้ําตาลเขมลึกกวา 1 เมตร จากผิวดินปฏิกิริยาดิน

               เปนกรดปานกลาง (pH 6.0)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                 0-25         ต่ํา          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                50-100        ต่ํา          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินบานทอน  ชุดดินหัวหิน  และชุดดินสัตหีบ
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินเปนทรายจัด ดินอุมน้ําไดนอย  เสี่ยงตอการขาด

               แคลนน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก  ทําใหผลผลิตเสียหายได การระบายน้ําของดินมากเกินไป
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรปรับปรุงบํารุงดินโดยการใสปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมี เพื่อ

               ปรับปรุงคุณสมบัติของดินทั้งทางกายภาพและเคมีใหดีขึ้น ชวยใหดินมีความสามารถในการอุมน้ําไดดีขึ้น สามารถดูดซับ
               ธาตุอาหารไวในดินไดดี  ไมถูกชะลางไปกับน้ําไดงาย









                                                                                                            19
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32