Page 33 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 33

23   ชุดดินลพบุรี (Lop Buri Series: Lb)



                                กลุมชุดดินที่      28

                                การจําแนกดิน        Very-fine, smectitic, isohyperthermic Typic Haplusterts
                                การกําเนิด          เกิดจากตะกอนน้ําพาที่มีแรดินเหนียวสวนใหญเปนพวกมอนตมอริลโลไนต

                                                                   ทับถมอยูบนชั้นปูนมารล  หรือตะพักเขาหินปูน
                                สภาพพื้นที่         ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 1-5 %

                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชาถึงปานกลาง
                                การซึมผานไดของน้ํา         ชา

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน   ปาเบญจพรรณ  ปลูกพืชไร เชน ขาวโพด
                                                                ขาวฟาง ถั่วตางๆ และขาว

                                การแพรกระจาย                  พบสวนใหญทางดานเหนือของที่ราบลุมภาคกลางหรือที่สูงตอนกลาง

                                การจัดเรียงชั้นดิน              Ap-Bss-BCk
                                ลักษณะและสมบัติของดิน       เปนดินลึก ดินบนเปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขม ปฏิกิริยาดิน

                                เปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง (pH 6.5-8.0)  ดินบนตอนลางเปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขม
               มาก พบชั้นปูนมารลในระดับลึก 80 ซม. ลงไป  ในฤดูแลงจะแตกระแหงเปนรอง กวางกวา 1 ซม. หรือมากกวา ที่ความลึก

               50  ซม.  และรอยแตกนี้จะคงอยูนาน จะพบรอยไถลและหนาตัดดินมีมวลกอนกลมปูนสะสมอยูทั่วไป  ปฏิกิริยาดินเปน

               ดางปานกลางถึงดางจัด (pH 8.0-9.0) ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว สีดําหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนดางปาน
               กลาง (pH 8.0 )


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25         สูง           สูง            สูง            สูง           สูง           สูง

                 25-50        สูง           สูง            สูง         ปานกลาง          สูง           สูง
                50-100        สูง           สูง            สูง            สูง           สูง           สูง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินตาคลี  ชุดดินบุรีรัมย  และชุดดินบานหมี่

               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนดินเหนียวจัด  เมื่อแหงจะแข็งมากแตพอเปยกน้ําจะแฉะ  ถาไถพรวนไมถูกวิธีจะ
               ทําใหการไพรวนยากลําบากและทําใหโครงสรางของดินเสีย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  โดยทั่วไปเหมาะในการปลูกพืชไร  โดยเฉพาะอยางยิ่งฝายหรือขาวโพด  แตควรไถ
               พรวนดินในขณะที่ดินมีความชื้นเหมาะสมและควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี  เพื่อเพิ่มผลผลิต








                                                                                                            25
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38