Page 34 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคกลางของประเทศไทย
P. 34

24   ชุดดินลาดหญา (Lat Ya Series: Ly)



                                  กลุมชุดดินที่    56

                                  การจําแนกดิน      Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults
                                  การกําเนิด        เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทาง

                                                    ใกลๆ โดยแรงโนมถวงของโลกของหินทรายและหินควอรตไซต โดยมีหิน
                                                    ดินดานและหินฟลไลทเปนหินพื้น

                                  สภาพพื้นที่       ลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชันหรือเปนเขา มีความลาดชัน 2-20 %

                                  การระบายน้ํา                   ดี
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ปานกลางถึงเร็ว

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณหรือปาดิบแลง ปลูกพืชไร

                                  การแพรกระจาย           พบอยูทุกภาคของประเทศไทย นอกจากบริเวณคาบสมุทรหรือ

                                                                        ชายฝงตะวันออกเฉียงใตของประเทศ
                                  การจัดเรียงชั้นดิน         Ap-BA-Bt-BC

                                  ลักษณะและสมบัติของดิน  เปนดินลึกปานกลาง  ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย
                                  สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง

               (pH 5.0-6.0) ดินบนตอนลาง เปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย   สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดงและเปนดิน

               รวนเหนียวปนทรายปนกรวด  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 5.0)  ดินลางตอนลางเปนดินรวนปนดินเหนียว  สีแดงปน
               เหลืองในชวงความลึก 50-125  ซม.  จากผิวดิน  กอนกรวดเปนพวกเศษหินควอรตไซต   หินทราย   หินฟลไลท  และ

               หินดินดาน และมวลสารกลมของหินลูกรังกระจายอยูทั่วไปในชั้นดินปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.0)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                 (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                 0-25      ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง
                 25-50     ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง

                50-100        ต่ํา          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินทายาง  และชุดดินพะโตะ
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา และการกัดกรอนของดิน  ถาไมมี

               การจัดการที่เหมาะสมในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ในการปลูกพืช ควรมีวิธีการที่เหมาะสมเพื่ออนุรักษดินและน้ํา เชน ปลูกพืชคลุมดิน

               ปลูกพืชตามแนวระดับและใชปุยอินทรีย พวกปุยคอก ปุยหมัก หรือปุยพืชสด เพื่อชวยใหดินอุมน้ํา และยึดธาตุอาหารพืช

               ไดดีขึ้น  พืชสามารถดูดไปใชได



                                                                                                            26
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39