Page 27 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 27

17





                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  7   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน
                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม   ขายผลผลิตใหกับพอคาในทองถิ่นและพอคานอกทองถิ่น   จากการสํารวจการ

                 ผลิตสมเขียวหวาน  ป 7  ไดรับผลผลิตเฉลี่ยไรละ  1,524.17  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  9.34  บาท  มูลคาผล

                 ผลิตไรละ  14,231.67  บาท  เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,848.11  บาท  ตนทุน

                 ผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  5,192.00  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  5,862.41  บาท  ดังนั้นเกษตรกร

                 จะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  11,383.56  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด
                 เฉลี่ยไรละ  9,039.67  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  8,369.26  บาท  สําหรับการที่

                 จะนําขอมูลไปใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก  เราอาจพิจารณา

                 ถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย   กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป  7  มีผล

                 ตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  11,388.56  บาท  (ตารางที่  27)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 7 ในหนวยที่ดินที่  47.1D ปญหาที่เกษตรกรประสบไดแก รอยละ
                 100.00  ประสบปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง  รองลงมารอยละ 80.00 ศัตรูพืชรบกวน  รอยละ 60.00 สภาพดินเสื่อมโทรม

                 ราคาผลผลิตตกต่ําและโรคผลเนา ผลรวง ที่เหลือจะเปนปญหาขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร  เพียงรอยละ 20.00
                              เกษตรกรทั้งหมดตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม   รองลงมารอยละ
                 60.00 ตองการใหประกันราคาผลผลิต รอยละ 40.00 สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ  ที่เหลือรอยละ 20.00

                 จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร   จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตและสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดิน   (ตารางที่
                 43.2)

                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  8   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน

                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคาในทองถิ่นและพอคานอกทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสม

                 เขียวหวาน  ป 8  ไดรับผลผลิตเฉลี่ยไรละ  1,717.50  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  7.86  บาท  มูลคาผลผลิตไร

                 ละ  13,504.17  บาท  เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,994.34  บาท  ตนทุนผันแปร

                 ทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  5,410.82  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  6,081.23  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะได
                 รับผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  10,509.83  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ย

                 ไรละ  8,093.35  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  7,422.94  บาท  สําหรับการที่จะนํา

                 ขอมูลไปใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก  เราอาจพิจารณาถึงผล

                 ตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย   กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป  8  มีผลตอบ

                 แทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  10,514.83  บาท  (ตารางที่  28)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 8 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรทั้งหมดประสบปญหาปจจัย
                 การผลิตมีราคาสูง  สวนปญหาศัตรูพืชรบกวนมีถึงรอยละ 80.00  สภาพดินเสื่อมโทรม ราคาผลผลิตตกต่ําและโรคผลเนา  ผล
                 รวง คิดเปนรอยละ 60.00 ที่เหลือรอยละ 20.00 ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32