Page 25 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 25

15




                 ทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,049.49  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,603.96  บาท (ตารางที่

                 23 )


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 3 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรรอยละ  100.00  ประสบ
                 ปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง รองลงมารอยละ 60.00 ศัตรูพืชรบกวน  รอยละ 40.00  ราคาผลผลิตตกต่ํา  ที่เหลือรอยละ

                 20.00  ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร  ขาดเงินทุน และแรงงาน
                              เกษตรกรตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมรอยละ  80.00 ตองการใหจัด

                 สรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร   จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิต  สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปลูกพืชและประกันราคาผลผลิตรอยละ
                 20.00 เทากัน  (ตารางที่ 43.1)


                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  4  พันธุสงเสริม  เริ่มเก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน
                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคาในทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสมเขียวหวาน  ป 4  ไดรับ

                 ผลผลิตเฉลี่ยไรละ  679.32  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  9.73  บาท  มูลคาผลผลิตไรละ  6,610.72  บาท  เกษตรกร

                 มีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,079.68  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,990.46

                 บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  3,635.02  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ย

                 ไรละ  4,531.04  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  3,620.26  บาท  และผลตอบ
                 แทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  2,975.70  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบในการตัดสิน

                 ใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่

                 เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป  4  มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสด

                 เฉลี่ยไรละ  4,534.61  บาท  (ตารางที่  24)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 4 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรทั้งหมดประสบปญหาปจจัย
                 การผลิตมีราคาสูง  รองลงมารอยละ 80.00 ศัตรูพืชรบกวน  รอยละ 40.00 ราคาผลผลิตตกต่ํา  ที่เหลือรอยละ 20.00 ขาดเงินทุน

                 แรงงาน  สภาพดินเสื่อมโทรม และปญหาโรคผลรวง  ผลเนา  เปนตน
                              เกษตรกรตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมรอยละ  100.00   รองลงมา
                 รอยละ 60.00 ตองการใหประกันราคาผลผลิต   รอยละ 40.00 จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและสงเสริมแนะนําเกี่ยว

                 กับการใชสารเคมีตาง  ๆ  ที่เหลือเพียงรอยละ  20.00  จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตและ  สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุง

                 ดิน  (ตารางที่ 43.2)

                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  5   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน

                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคาในทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสมเขียวหวาน  ป 5  ได
                 รับผลผลิตเฉลี่ยไรละ  857.74  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  8.62  บาท  มูลคาผลผลิตไรละ  7,391.70  บาท

                 เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,108.53  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ

                 3,068.45  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  3,688.31  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงิน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30