Page 29 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 29

19





                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน พันธุพื้นเมือง ป 10 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรทั้งหมดประสบปญหาปจจัย
                 การผลิตมีราคาสูง  รองลงมารอยละ  80.00  ศัตรูพืชรบกวน  รอยละ  60.00  สภาพดินเสื่อมโทรม  ราคาผลผลิตตกต่ําและ
                 โรคผลเนา โคนเนา  ที่เหลือรอยละ 20.00  ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร

                              เกษตรกรทุกคนตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม   รองลงมารอยละ
                 60.00 ประกันราคาผลผลิต  รอยละ 40.00 สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ ที่เหลือรอยละ 20.00 ใหจัดสรางแหลงน้ํา

                 เพื่อการเกษตร จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิต สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดิน  (ตารางที่ 43.3)

                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  11   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน

                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคานอกทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสมเขียวหวาน  ป 11

                 ไดผลผลิตไรละ  2,136.11  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  8.92  บาท  มูลคาผลผลิตไรละ  19,055.56   บาท

                 เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  4,084.45  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ
                 6,315.89  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  7,128.40  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงิน

                 สดเฉลี่ยไรละ  14,971.11  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  12,739.67  บาท  และผล

                 ตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  ไรละ  11,927.16  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบในการตัด

                 สินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผัน

                 แปรที่เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป 11 มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเงิน
                 สดเฉลี่ยไรละ  14,976.11  บาท  (ตารางที่  31)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน พันธุพื้นเมือง ป 11 ในหนวยที่ดินที่  47.1D ปญหาที่เกษตรกรทุกคนประสบคือ

                 ปญหาศัตรูพืชรบกวน  รองลงมารอยละ 80.00  ปจจัยการผลิตมีราคาสูง  รอยละ  60.00 ราคาผลผลิตตกต่ํา  รอยละ 40.00 ขาด
                 แคลนน้ําเพื่อการเกษตรและสภาพดินเสื่อมโทรม ที่เหลือเปนปญหาขาดแคลนเงินทุนและ แรงงาน  เพียงรอยละ  20.00 เทากัน

                              เกษตรกรทุกคนตองการใหรัฐบาลชวยเหลือ  โดยเฉพาะในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมคิดเปน
                 รอยละ 100.00  รองลงมารอยละ  60.00  ตองการใหสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ   รอยละ 40.00 จัดหาตลาด

                 รับซื้อผลผลิต สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดินและประกันราคาผลผลิต  (ตารางที่ 43.3)

                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  12   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน

                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคานอกทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสมเขียวหวาน  ป 12

                 ไดผลผลิตไรละ  2,088.89  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  8.55  บาท  มูลคาผลผลิตไรละ  17,855.56  บาท
                 เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  4,277.19  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไร

                 ละ  6,435.74  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  7,248.47  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่

                 เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  13,578.37  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  11,419.82

                 บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  10,607.09  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใช

                 ประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผล
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34