Page 23 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 23

13





                 หนวยดินที่  47.1C

                         ถั่วเหลือง   เกษตรกรปลูกถั่วเหลืองพันธุ   สจ.2   มีฤดูการผลิตตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือน

                 กรกฎาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคานอกทองถิ่นที่เขามารับซื้อ  จากการสํารวจการผลิตถั่วเหลือง  ไดผลผลิตไร
                 ละ  247.74  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  9.04  บาท  มีมูลคาผลผลิตไรละ  2,240.00  บาท  เกษตรกรมีคา

                 ใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  664.11  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  1,611.54

                 บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  1,836.86  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงินสด

                 เฉลี่ยไรละ  1,575.89  บาท    เฉลี่ยไรละ  628.46  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ

                 403.14  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทํา

                 การเพาะปลูก  เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกร

                 ผูปลูกถั่วเหลือง  มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  1,580.89  บาท  (ตารางที่  19 )

                         ขาวโพดเลี้ยงสัตว   เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวพันธุ   888   มีฤดูการผลิตตั้งแตเดือน

                 พฤษภาคมถึงเดือนกันยายน   ขายผลผลิตใหกับพอคานอกทองถิ่นและพอคาในทองถิ่น   จากการสํารวจการผลิต

                 ขาวโพดเลี้ยงสัตว  ไดผลผลิตไรละ  638.00  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  3.88  บาท  มีมูลคาผลผลิตไรละ

                 2,473.87  บาท  เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  1,393.05  บาท  ตนทุนผันแปร
                 ทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  1,888.58  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,126.50  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับ

                 ผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  1,080.82  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ

                 585.29  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  347.37  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใช

                 ประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทน

                 เหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย   กลาวคือเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมีผลตอบแทนเหนือ
                 ตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  1,085.82  บาท  (ตารางที่  20 )


                         เกษตรกรผูปลูกถั่วเหลือง  พันธุ สจ.2 หนวที่ดินที่ 47.1C เกษตรกรทั้งหมดประสบกับปญหาราคาผลผลิตตกต่ํา  รอง
                 ลงมารอยละ  80.00 เปนปญหาเรื่องปจจัยการผลิตมีราคาสูงและศัตรูพืชรบกวน  รอยละ  60.00   ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการ
                 เกษตร  และที่เหลือรอยละ  20.00  สภาพดินเสื่อมโทรม

                              เกษตรกรเกือบทั้งหมดรอยละ 80.00  ตองการใหรัฐบาลชวยเหลือโดยจัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและ
                 จัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม  รอยละ  60.00 ตองการใหประกันราคาผลผลิต  รอยละ 40.00 ใหจัดหาตลาดรับซื้อผล

                 ผลิตและสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ํา   ที่เหลือตองการใหสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดินและเกี่ยว
                 กับการปลูกพืช   คิดเปนรอยละ  20.00  เทากัน  (ตารางที่ 43.1)


                         เกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว  พันธุ 888 ในหนวยที่ดินที่ 47.1C   เกษตรกรรอยละ 75.00  ประสบปญหา
                 ปจจัยการผลิตมีราคาสูงและราคาผลผลิตตกต่ํา  รองลงมารอยละ 62.50  ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรและศัตรูพืชรบกวน
                 ที่เหลือรอยละ 12.50 ขาดเงินทุน สภาพดินเสื่อมโทรมและการขนสงผลผลิตไมสะดวก
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28